สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ขนุน

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : MORACEAE

สกุล (Genus) : Artocarpus

ชนิด (specific epithet) : heterophyllus

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Lam.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : วิชาญ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ขนุนเป็นไม้ผลยืนต้นขนาดใหญ่ สามารถปลูกได้ในดินทั่วไป และปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศในระดับความสูงของพื้นที่ไม่เกิน 1,200 เมตร เป็นผลไม้ที่ขนาดของผลใหญ่ที่สุด (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2544) ขนุนเป็นไม้ผลที่ขึ้นได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงและมีอินทรียวัตถุมากขนุนจะให้ผลผลิตสูง ความเป็นกรด-ด่างของดินที่เหมาะสม 6.0-7.5 ความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 70-90% ปริมาณน้ำฝนประมาณ 2,000-3,000 มิลลิเมตรต่อปี อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ระหว่าง 30-40 องศาเซลเซียส (นิรนาม, 2559ก) ปัจจุบันขนุนสามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรเป็นอย่างดี เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศ นอกจากบริโภคในแบบผลไม้สดแล้ว เนื้อขนุนสุกยังสามารถแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ได้ เช่น ขนุนอบแห้งและขนุนในน้ำเชื่อมบรรจุกระป๋อง เป็นต้น เป็นที่ต้องการของตลาดส่งออกหลายประเทศ ตลาดต้องการขนุนขนาดทรงกลม ผลสวย ไม่มีโรคแมลงรบกวน สำหรับผลขนุนคุณภาพเกรดเอ ต้องมีน้ำหนักตั้งแต่ 9 กิโลกรัมขึ้นไป เนื่องจากตลาดต้องการสินค้าที่มีผลสวย เกษตรกรจึงต้องห่อผลขนุนไม่ให้มีโรคและแมลงรบกวน โดยธรรมชาติแล้ว ผลขนุนที่เริ่มแก่ จะขยายขนาดผลได้เร็วมาก เพราะเนื้อขนุนมีลักษณะค่อนข้างพอง ผู้ส่งออก ต้องการขนุนที่มีความสุกแก่ 80% ซึ่งมีอายุการเก็บเกี่ยว 120 วัน หรือประมาณ 4 เดือน (จิรวรรณและพาณิชย์, 2557) ในปี 2559 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกขนุนทั้งสิ้นประมาณ 47,344 ไร่ ใน 59 จังหวัด มีจำนวนเกษตรกรผู้ปลูกขนุนทั้งประเทศ 15,721 ราย โดยมีผลผลิตรวมที่ 69,560 ตัน ผลผลิตเฉลี่ยที่ 1,971กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยที่ 1310 บาทต่อกิโลกรัม แหล่งปลูกขนุนสำคัญส่วนใหญ่อยู่ที่ภาคตะวันออกและภาคตะวันตกได้แก่ ประจวบคีรีขันธ์ ระยอง ชลบุรี นครราชสีมา เพชรบุรี จันทบุรี ปราจีนบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี เป็นต้น สำหรับแหล่งปลูกขนุนที่สำคัญในเขตภาคเหนือตอนล่างได้แก่ เพชรบูรณ์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ พิจิตร และตาก โดยมีพื้นที่ปลูกประมาณ 1,101 ไร่ ผลผลิตรวม 427,870 กิโลกรัม และมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ที่ 1,018 กิโลกรัม (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2559) ขนุนส่งออกไปขายที่ประเทศจีนและกัมพูชาจะคัดเลือกผลใหญ่ที่มีน้ำหนัก 10 กิโลกรัมขึ้นไป ส่วนตลาดในประเทศไทยน้ำหนักตั้งแต่ 7-10 กิโลกรัม (ชูชาติ, 2560) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2560) รายงานว่า ในปี 2559 ประเทศไทยส่งออกขนุนสด 31,937,000 กิโลกรัม และในเดือนมกราคมถึงกันยายน 2560 ประเทศไทยส่งออกขนุนสด 23,451,000 กิโลกรัม ในปัจจุบันมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกขนุนเพิ่มมากขึ้น ผู้?ผลิตและผู้?ส?งออกจึงได้พยายามผลักดันให้?มีการส?งออกทั้งแบบสดและแบบแปรรูป สำหรับการส่งออกขนุนสดไปจำหน่ายต่างประเทศ ส่วนใหญ่เป็นตลาดในแถบเอเชีย เช่น ฮ่องกงและจีน เพื่อให้ประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายและประเด็นการพัฒนาประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ที่ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่สำคัญด้านการผลิตและการค้า สินค้าเกษตรในเวทีโลกด้วยพื้นฐานทางพืชเกษตรเขตร้อน และมีข้อได้เปรียบด้านความหลากหลายทาง ชีวภาพที่สามารถพัฒนาต่อยอดโครงสร้างธุรกิจการเกษตรด้วยการสร้างมูลค่าเพิ่ม เน้นเกษตร คุณภาพสูง และขับเคลื่อนการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ให้ความสำคัญกับการเพิ่มผลิต ภาพการผลิตทั้งเชิงปริมาณและมูลค่า และความหลากหลายของสินค้าเกษตร เพื่อรักษาฐานรายได้เดิม และสร้างฐานอนาคตใหม่ที่สร้างรายได้สูง ทั้งเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น เกษตรปลอดภัย เกษตรชีวภาพ เกษตรแปรรูป และเกษตรอัจฉริยะ เพื่อให้เกษตรกรมีรายได้สูงขึ้น (สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561)

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :