สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : สมุนไพรและเครื่องเทศ

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : บัวบก

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : UMBELLIFERAE

สกุล (Genus) : Centella

ชนิด (specific epithet) : asiatica

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : (L.) Urb.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : บัวบกพันธุ์ระยอง

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : บัวบกเป็นพืชสมุนไพรที่มีความสำคัญ มีสรรพคุณทั้งต้นมีรสหอมเย็น แก้ชำใน แก้อ่่อนเพลีย ขับปัสสาวะ รักษาแผล แก้ร้อนในกระหายน้ำ แก้โรคปวดศีรษะข้างเดี่ยว แก้โรคเรื้อน แก้กามโรค แก้ตับอักเสบ บำรุงหัวใจ บำรุงกำลัง ใบมีรสขม เป็นยาดับร้อน ลดอาการอักเสบบวม(เพ็ญนภา, 2549) บัวบกมีสารออกฤทธิ์หรือสารสำคัญในกลุ่มไตรเทอร์ปีน (triterpenes) การผลิตบัวบกในเชิงการค้ามีต้นทุนการผลิต 5,340 บาทต่อไร่ ได้ผลผลิตรวม 5,000 กิโลกรัมต่อไร่ เกษตรกรขายได้กิโลกรัมละ 7 บาท ทำให้มีรายได้สุทธิ 29,660 บาทต่อไร่ (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2550) การผลิตวิัตถุดิบสมุนไพรให้ได้ทั้งปริมาณและคุณภาพดี จะต้องมีพันธุ์ที่ให้ทั้งผลผลิตสูงและสารสำคัญสูง รวมทั้งมีเทคโนโลยีการผลิตหรือการเพาะปลูกที่ถูกต้องเหมาะสม ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างและจุลินทรีย์ก่อโรคกับสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ซึ่งจากห้องปฏิบัติการพบบัวบกมีสารตกค้าง 25-50 เปอร์เซ็นต์ ของตัวอย่าง จึงต้องหาเทคโนโลยีเพื่อลดสารตกค้างเหล่านั้น

ไถแปร :1 ครั้ง

อื่นๆ : ไถพรวนดินลึก 40-60 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก 2-3 ตันต่อไร่ ใส่โดโลไมท์ หรือปูนขาว ตากดินไว้ 15 วัน

วิธีปลูก : ใช้ไหลที่เพาะในถาดหลุม ๆ ละ 2 ต้น อายุ 1 เดือน ปลูกในแปลงที่เตรียมไว้่

อัตราปลูก : 60 หลุม ต่อแปลง ขนาด 2 x 3 เมตร ด้วยระยะปลูก 10 x 10 เซนติเมตร

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : นำไหลแยกจากต้นมาเพาะในถาดหลุม ๆ ละ 2 ต้น เมื่ออายุได้ 1 เดือน นำลงปลูก

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว : เก็บเกี่ยวเถา เมื่อมีอายุ 80-85 วัน

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ : ไม่ใช้

อัตรา : ไม่ระบุ

วิธีการ : ไม่มี

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ : 5/2/2011 12:00:00 AM

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 16-20-0

อัตรา : 5 กิโลกรัม ต่อ ไร่

โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม

ครั้งที่ : 2

วันที่ : 6/10/2011 12:00:00 AM

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 46-0-0

อัตรา : 3 กิโลกรัม ต่อ ไร่

โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม

ครั้งที่ : 3

วันที่ : 7/31/2011 12:00:00 AM

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15

อัตรา : 50 กิโลกรัม ต่อ ไร่

โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

วิธี : สปริงเกลอ

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1

โรคพืช

วันที่ :

ชนิดสารเคมี :คาร์เบนดาซิม

อัตรา :อัตรา 10 มล น้ำ 20 ลิตร


แมลง ไร และศัตรูพืช

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

อัตรา : อัตรา 1 กิโลกรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : เจริญเติบโตได้ดีที่อุณหภูมิ ระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส ไม่ชอบแสงแดดจัด ต้องการแสงมาก อยู่ในพื้นที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 1,200 - 2,500 มิลลิเมตร ต่อ ปี

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ : ใช้พันธุ์คัดเลือก ป้องกันโรคจากสารชีวภัณฑ์ และกำจัดแมลงศัตรูด้วยสารจากธรรมชาติ

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง : ประนอม ใจอ้าย และคณะ

ฤดูปลูก-ปี : 2554

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแพร่

จังหวัด : แพร่

อำเภอ : อำเภอเมืองแพร่

ตำบล : วังหงส์

พื้นที่ลาดเอียง : 1

พิกัด X : 0

พิกัด Y : 0

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : RCB

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 8

จำนวนซ้ำ (Replication) : 8

จำนวนบล็อค (Block) : 1

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) : 180 ตารางเมตร

ขนาดความกว้างแปลงย่อย : 2 เมตร

ขนาดความยาวแปลงย่อย : 3 เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : 1.6 เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : 2.6 เมตร

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) : 10

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) : 10

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข : ไม่ระบุ

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา : บัวบก

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) : 800-1,789

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา : ใส่ปุ๋ย 16-20-0 หลังปลูก 15-20 วัน อัตรา 5 กิโลกรัม ใส่ปุ๋ย 46-0-0 ครั้งที่สองหลังปลูก 30-40 วัน

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด : ไม่มี

วันที่ปลูก : 5/1/2011 12:00:00 AM

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก : ดินร่วนปนทราย (Sandy Loam)

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) : 6.5

อินทรีวัตถุ (%) : 0.4

ฟอสฟอรัส (mg/kg) : ไม่ระบุ

โพแทสเซียม (mg/kg) : ไม่ระบุ

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) : ไม่ระบุ

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) : ไม่ระบุ

Fe (mg/kg) : ไม่ระบุ

Mo (mg/kg) : ไม่ระบุ

Mg (mg/kg) : ไม่ระบุ

Zn (mg/kg) : ไม่ระบุ

Mn (mg/kg) : ไม่ระบุ

S (mg/kg) : ไม่ระบุ

B (mg/kg) : ไม่ระบุ

Cu (mg/kg) : ไม่ระบุ