สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชผัก

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : หอมแดง

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : AMARYLLIDACEAE

สกุล (Genus) : Allium

ชนิด (specific epithet) : cepa

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : cv. Group Aggregatum

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : จากสถิติการเพาะปลูกพืชของประเทศ พบว่า การปลูกหอมแดงในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในปี 2557 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกหอมแดง 66,913 ไร่ ผลผลิต 132,908 ตัน พื้นที่เพาะปลูกลดลงจากปี 2556 ถึง 6.1 เปอร์เซ็นต์ แหล่งปลูกหอมแดงมี 2 พื้นที่ คือ ภาคเหนือ 42,078 ไร่ คิดเป็น 62.8 เปอร์เซ็นต์ จังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุด คือ เชียงใหม่ 16.4 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา พะเยา 14.1 เปอร์เซ็นต์ อุตรดิตถ์ 12.3 เปอร์เซ็นต์ และลำพูน 9.7 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ 24,835 ไร่ คิดเป็น 37.2 เปอร์เซ็นต์ จังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมากที่สุด คือ ศรีสะเกษ 29.3 เปอร์เซ็นต์ รองลงมา บุรีรัมย์ 2.7 เปอร์เซ็นต์ และชัยภูมิ 2.5 เปอร์เซ็นต์ ผลผลิตเฉลี่ยของภาคเหนืออยู่ที่ไร่ละ 1,876 กิโลกรัมต่อไร่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2,173 กิโลกรัมต่อไร่ มากกว่าภาคเหนือถึง 13.7 เปอร์เซ็นต์ หอมแดงเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีชื่อเสียงของจังหวัดศรีสะเกษ เป็นแหล่งผลิตหอมแดงคุณภาพดี มีชื่อเสียงจนเรียกกันติดปากว่า หอมแดงศรีสะเกษ มีลักษณะเด่นกว่าที่อื่น คือ เปลือกนอกสีม่วงปนแดง เปลือกหนาและเหนียว ขนาดหัวใหญ่ สม่ำเสมอ กลิ่นฉุนจัด มีรสหวาน เก็บรักษาได้ยาวนาน เป็นที่ต้องการของตลาดต่างประเทศที่นิยมอาหารไทย เช่น ยุโรป ญี่ปุ่น หอมแดงคุณภาพที่ส่งออกต้องมีลักษณะ เป็นหัวเดียว หรือหัวที่ยังไม่แยกออก ขนาดหัวจัมโบ้ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.5-4.0 เซนติเมตร (เฉลี่ย 3.47 เซนติเมตร) ผิวแห้งสนิท ปราศจากโรคแมลง ขนาดหัวสม่ำเสมอ และปลอดภัยจากสารพิษ ส่วนตลาดต่างประเทศนั้นหอมแดงมีตลาดรับซื้อ ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ตะวันออกกลาง เยอรมัน และอังกฤษ โดยส่งออกเป็นหอมแดงสด ส่วนการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยังมีน้อยมาก หอมแดงมีหลายพันธุ์ มีชื่อเรียกตามแหล่งผลิต เช่น หอมลำพูน หอมลับแล และหอมศรีสะเกษ เป็นต้น ระยะเวลาในการปลูกและลักษณะของผลผลิตจะแตกต่างกัน อายุการเก็บเกี่ยวหอมแดงจะแตกต่างกัน เกษตรกรผู้ปลูกหอมแดงมักประสบปัญหาด้านราคาโดยเฉพาะในช่วงเดือนธันวาคมและเดือนมกราคมที่มีผลผลิตออกสู่ตลาดปริมาณมาก จากรายงานการประชุมกับคณะอนุกรรมาธิการติดตาม ตรวจสอบ และกลั่นกรองเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวกับการเกษตรและสหกรณ์ ในคณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณ์

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :