สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ดอกไม้ประดับ

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : กล้วยไม้

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ORCHIDACEAE

สกุล (Genus) : Dendrobium

ชนิด (specific epithet) : SW.

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีการส่งออกไม้ ดอกไม้ประดับที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก กล้วยไม้จัดเป็นไม้ ดอกไม้ประดับชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ประเทศไทยยังเป็นแหล่งกำเนิดกล้วยไม้มากถึง ๑๕๕ สกุล มีพื้นที่ปลูกกล้วยไม้รวมมากถึง ๒๑,๖๓๑ ไร่ ปี ๒๕๖๒ มีมูลค่าส่งออกมากเกือบ ๓,๐๐๐ ล้านบาท กล้วยไม้ตัดดอกมีมูลค่าการส่งออกมากที่สุด ๒,๑๖๕ ล้านบาท ตลาดที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม และจีน มีมูลค่าคิดเป็น ๗๘.๒๗ เปอร์เซ็นต์ของทั้งหมด การปลูกกล้วยไม้ในปี ๒๕๖๑ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๒๑,๖๓๑ ไร่ และมีผลผลิต ๔๘,๑๓๗ ตัน โดยภาคกลางมี การปลูกกล้วยไม้มากที่สุด ๒๑,๒๔๓ ไร่ ผลผลิต ๔๗,๑๘๙ ตัน ส่วนจังหวัดที่มีเนื้อที่ปลูกมากที่สุด ๕ อันดับแรก ได้แก่ นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี กรุงเทพฯ และกาญจนบุรี สถานการณ์ส่งออกและนำเข้ากล้วยไม้ การส่งออกและนำเข้ากล้วยไม้มีอยู่ทั้งหมด ๖ รูปแบบ ได้แก่ กล้วยไม้ตัดดอก กิ่งชำและกิ่งตอนที่ไม่มีราก กิ่งชำและ กิ่งตอนที่มีราก ต้นกล้ากล้วยไม้ ต้นกล้วยไม้ และต้นกล้วยไม้ ลูกผสมสกุลซิมบิเดียม หวาย และฟาแลนนอพซิส สถานการณ์ส่งออก ปริมาณการส่งออก ในปี ๒๕๖๒ ต้นกล้วยไม้ลูกผสมเป็นรูปแบบของ กล้วยไม้ที่มีปริมาณการส่งออกสูงที่สุด ๒๔,๙๓๗ ตัน รองลงมา คือ กล้วยไม้ตัดดอก ต้นกล้า กิ่งชำที่มีราก กิ่งชำที่ ไม่มีรากและต้นกล้วยไม้ ปริมาณการส่งออก ๒๓,๐๘๗ ๕,๔๒๒ ๑,๐๒๕ และ ๔๙๗ ตัน ตามลำดับ แต่ เมื่อเทียบปริมาณการส่งออกกับปี ๒๕๖๑ พบว่า ทุกรูปแบบของกล้วยไม้มีปริมาณลดลงเฉลี่ยไม่เกิน ๑๐ เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีปริมาณการส่งออกของกล้วยไม้ลูกผสมอยู่ที่ ๒๕,๑๗๒ ตัน รองลงมา คือ กล้วยไม้ตัดดอก ต้นกล้า กิ่งชำที่มี ราก กิ่งชำที่ไม่มีรากและต้นกล้วยไม้ มีปริมาณการส่งออก ๒๓,๗๑๗ ๕,๙๔๗ ๑,๑๐๑ และ ๕๕๓ ตัน ตามลำดับ มูลค่าการส่งออก ในปี ๒๕๖๒ กล้วยไม้ตัดดอกมีมูลค่าการส่งออกสูง ที่สุด ๒,๑๖๕ ล้านบาท รองลงมา คือ ต้นกล้วยไม้ลูกผสม ต้นกล้า กิ่งชำที่ไม่มีรากและต้นกล้วยไม้ และกิ่งชำมีราก มูลค่า ๓๕๔, ๙๗, ๒๓, และ ๑๔ ล้านบาท ตามลำดับ เช่นเดียวกับในปี ๒๕๖๑ ที่กล้วยไม้ตัดดอกยังคง มีมูลค่าการส่งออกสูงที่สุด ๒,๒๘๗ ล้านบาท รองลงมา คือ ต้นกล้วยไม้ลูกผสม ต้นกล้า กิ่งชำที่ไม่มีรากและต้นกล้วยไม้ และกิ่งชำมีราก มูลค่า ๓๘๒, ๑๑๑, ๓๐, และ ๑๓ ล้าน บาท ตามลำดับ ซึ่งมูลค่าและปริมาณการส่งออก ชองกล้วยไม้ตัดดอกและต้นกล้วยไม้ลูกผสมไม่สอดคล้องกัน ประเทศคู่ค้ากล้วยไม้ตัดดอกที่สำคัญ ๕ อันดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม จีน และอิตาลี โดยมี มูลค่ารวมมากกว่า ๗๘.๒๗ เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าทั้งหมด กล้วยไม้ที่มีการส่งออกสูงสุด คือ สกุลหวาย มอคคาร่า อแรนด้า และแวนด้า ตามลำดับ สถานการณ์นำเข้า ปริมาณการนำเข้า การนำเข้ากล้วยไม้แตกต่างจากการส่งออก โดย พบว่า ปริมาณการนำเข้าสูงที่สุดจะอยู่ในรูปของต้นกล้า ใน ปี ๒๕๖๒ การนำเข้ากล้วยไม้มีปริมาณสูงที่สุด คือ ต้นกล้า ๗๓๘ ตัน รองลงมา คือ ต้นกล้วยไม้ลูกผสม ตัดดอก และกิ่ง ชำที่ไม่มีราก มีรากรวมทั้งต้นกล้วยไม้ ปริมาณการนำเข้า ๕๒, ๘, และ ๒ ตัน ตามลำดับ นำเข้าจากประเทศไต้หวัน จีน และเวียดนาม ตามลำดับ โดยในทุกรูปแบบของการนำเข้าเมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๑ มีปริมาณการนำเข้าลดลงโดยเฉพาะอย่างยิ่งกิ่งชำที่ มีรากนำเข้าเพียง ๒๐ กิโลกรัม ในปี ๒๕๖๑ ปริมาณการนำเข้ายังคงเป็นต้นกล้า ๑,๐๖๖ ตัน รองลงมา คือ ต้นกล้วยไม้ลูกผสม กิ่งชำที่ไม่มี ราก มีรากรวมทั้งต้นกล้วยไม้ และตัดดอก ๒๐๗, ๑๒, และ ๔ ตัน ตามลำดับ มูลค่าการนำเข้า ในปี ๒๕๖๒ มูลค่าการนำเข้าสูงที่สุดยังคงเป็นต้น กล้าเช่นเดียวกับปริมาณการนำเข้า ๘,๗๖๓,๓๗๕ บาท แต่มี มูลค่าลดลงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๑ อย่างไรก็ดีกล้วยไม้ตัด ดอกมีมูลค่าสูงขึ้น อยู่ที่ ๗,๕๖๔,๒๖๙ บาท ในปี ๒๕๖๑ มูลค่าการนำเข้าและปริมาณการนำเข้า เป็น ไป ใน ทิศ ท างเดีย วกัน ต้น ก ล้ามีมูล ค่าสูงที่สุด ๑๑,๑๑๑,๑๕๔ บาท รองลงมา คือ ต้นกล้วยไม้ลูกผสม ๕,๗๘๓,๙๓๒ บาท และกล้วยไม้ตัดดอก ๓,๑๒๒,๒๐๗ บาท นำเข้าจากเนเธอร์แลนด์ ไต้หวัน และเวียดนาม ส่วนกิ่งชำมี ราก และกิ่งชำที่ไม่มีรากกับต้นกล้วยไม้มีมูลค่าการนำเข้า ๔๕๗,๑๘๘ และ ๑๑๑,๘๐๔ บาท ตามลำดับ กล้วยไม้เป็นพืชที่ส่งออกเป็นอันดับหนึ่งในกลุ่มไม้ ดอกไม้ประดับของประเทศไทย มีมูลค่าการส่งออกมาก เกือบ ๓,๐๐๐ ล้านบาท โดยมูลค่าการส่งออกที่ผ่านมามี เปลี่ยนแปลงไม่มากเมื่อเทียบกับอดีต เนื่องจากมีตลาดหลัก ในการจำหน่ายเพียง ๕ ตลาด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เวียดนาม จีน และอิตาลี ไม่มีการสร้างตลาดใหม่เพื่อรองรับ การผลิต นอกจากนี้ชนิด/พันธุ์กล้วยไม้ที่ส่งออกไม่มีความ หลากหลายมากพอที่จะตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภค ด้านการผลิต ปัญหาศัตรูพืชและต้นทุนการผลิตที่ เพิ่มสูงขึ้น ปัญหาเรื่องคุณภาพของกล้วยไม้ และปัญหา แรงงานที่ต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าวเป็นหลัก ทำให้รายได้ ของเกษตรกรลดลง แม้ว่าจะมีการพัฒนาเครื่องจักรกลเข้า มาทดแทนในบางขั้นตอน แต่มักจะไม่ทันตามความต้องการ ของเกษตรกร นอกจากนี้ยังมีข้อจำกัด/ข้อกีดกันทางการค้า จากตลาดที่ส่งออก เช่น ปัญหาเพลี้ยไฟในกล้วยไม้ตัดดอก ด้านพันธุ์กล้วยไม้ พบว่ากล้วยไม้สายพันธุ์ใหม่มักจะ ยังอยู่ในวงการเฉพาะกลุ่มเกษตรกร ด้านคุณภาพต้นพันธุ์มี ความแปรปรวน บางพันธุ์ใช้เวลานานในการขยายพันธุ์ แม้ว่าไทยจะมีประสิทธิภาพในการผลิตกล้วยไม้เพื่อ การส่งออก และเป็นแหล่งผลิตกล้วยไม้เมืองร้อนที่มี ความสำคัญของโลก แต่ปัญหาดังกล่าวทำให้ศักยภาพการ ผลิตและการส่งออกของไทยลดลง จำเป็นต้องแก้ไขอย่าง เร่งด่วน

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :