สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ดอกไม้ประดับ

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : เบญจมาศ

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ASTERACEAE

สกุล (Genus) : Chrysanthemum

ชนิด (specific epithet) : hybrid

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : ไม่ระบุ

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สถานการณ์การผลิตเบญจมาศ เบญจมาศ (Chrysanthemum)มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชีย โดยเฉพาะในประเทศจีนและญี่ปุ่น แต่พันธุ์เบญจมาศที่มีการผลิตใน เชิงการค้าส่วนใหญ่เกิดจากการผสมและคัดเลือกพันธุ์เบญจมาศ ชนิดต่างๆ ที่มีลักษณะโดดเด่นจำเพาะ โดยมีการผลิตเบญจมาศ เป็นไม้ตัดดอกหรือไม้กระถาง เนื่องจากมีรูปทรงดอกที่หลากหลาย และกำ หนดเวลาที่จะให้ดอกบานได้แน่นอน ในประเทศญี่ปุ่น เบญจมาศเป็นพืชเศรษฐกิจที่นิยมปลูกมากที่สุดเมื่อเทียบกับคาร์เนชั่น กุหลาบ กล้วยไม้ และไม้ดอกชนิดอื่นๆ โดยระหว่างปี 2554–2558 มีพื้นที่ ผลิตเฉลี่ย 1.59 ล้านไร่ ส่วนประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นผู้ผลิตเบญจมาศตัดดอก รายสำคัญของกลุ่มประเทศยุโรป มีส่วนแบ่งในตลาดมากถึง 85 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่ารวมในกลุ่มประเทศยุโรป ซึ่งมีมูลค่าประมาณ 740,000 – 925,000 ล้านบาท (ปี 2557; อัตราแลกเงิน 37 บาท/ยูโร) และจัดเป็นไม้ตัดดอกที่มีการซื้อขายเป็นอันดับ 2 รองจากกุหลาบ สีของเบญจมาศซึ่งเป็นที่นิยมในตลาดกลุ่มประเทศยุโรป ได้แก่ ขาว (ประมาณ 60%), เหลือง (ประมาณ 30%) และชมพู (ประมาณ 8%) การผลิตในประเทศไทย ฤดูกาลปกติอยู่ในระหว่างเดือน มิถุนายน-มกราคม ซึ่งมีทั้งไม้ตัดดอกและไม้กระถาง พันธุ์ที่นิยมผลิต เป็นดอกเดี่ยว (1 ดอก/ต้น) ได้แก่ ขาวญี่ปุ่น ไรวารีสีเหลือง ชามร็อค (Shamrock) และเรโซมี (Resume) ดอกช่อ ได้แก่ ชมพูหวาน เรแกน ซันนี่ (Reagan Sunny) และโพลาริส (Polaris) (ภาพที่ 1) ไม้กระถาง ได้แก่ เหลืองขมิ้น นอกจากนี้ยังมีการผลิตเบญจมาศนอกฤดูด้วยเช่นกัน ขึ้นอยู่กับการจัดการของแต่ละพื้นที่ การผลิตเบญจมาศในประเทศไทย เบญจมาศสามารถปลูกได้ในทุกภูมิภาคของประเทศไทย แต่การผลิตให้ดอกมีคุณภาพตามความต้องการของตลาด พื้นที่ต้องมี ความหนาวเย็นเพียงพอและมีการจัดการที่เหมาะสม แหล่งผลิตที่สำคัญ เดิมอยู่ที่ภาคเหนือ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย แต่ปัจจุบัน มีการผลิตมากที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปี 2562 ประเทศไทยปลูกเบญจมาศรวม 3,936 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ที่จังหวัดอุดรธานี มีพื้นที่ปลูกมากถึง 3,187 ไร่ รองลงมา ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ และอุบลราชธานี มีเนื้อที่เพาะปลูก 375และ 210 ไร่ ตามลำดับ โดยระหว่างปี 2558-2562 จังหวัด อุดรธานี มีการขยายพื้นที่การปลูกเพิ่มมากขึ้นอย่างก้าวกระโดด ส่วน จังหวัดอุบลราชธานีมีพื้นที่ปลูกมากกว่า 100 ไร่ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ตรง ข้ามกับจังหวัดเชียงใหม่ที่มีพื้นที่ปลูกลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี การส่งออกและนำเข้าเบญจมาศ ตลาดเบญจมาศในประเทศไทยมีความต้องการเบญจมาศที่ได้ คุณภาพและมีความแปลกใหม่ ขณะที่การผลิตภายในประเทศมีปริมาณ ไม่เพียงพอต่อความต้องการ คุณภาพไม่เป็นที่ต้องการของตลาด และ ขาดความหลากหลาย ทำให้มีมูลค่าการนำเข้าดอกหรือไม้กระถาง จากต่างประเทศมากกว่าการส่งออก ซึ่งมีความแตกต่างกันอย่างมาก โดยมีรายละเอียดดังนี้ การส่งออก ในปี 2652 มูลค่าส่งออกเพียง 2.51 ล้านบาท เกือบทั้งหมด ส่งออกไปประเทศพม่าซึ่งมีมูลค่ามากถึง 2.49 ล้านบาท ส่วนในปี 2558-2562 มีมูลค่าการส่งออกระหว่าง 2.09-8.99 ล้านบาท การนำเข้า เบญจมาศตัดดอกมีมูลค่านำเข้าประมาณปีละ 300 ล้านบาท ในช่วงปี 2559-2562 โดยในปี 2562 มีมูลค่ามากถึง 314.42 ล้านบาท ซึ่งเป็นการนำเข้าจากประเทศมาเลเซียมากถึง 311.42 ล้านบาท หรือ 99.20 เปอร์เซ็นต์ ส่วนการนำเข้าจากประเทศลาว เวียดนาม และจีน มีมูลค่าเพียง 2.26 0.65 และ 0.09 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2561 พบว่า มีมูลค่าการนำเข้าจากประเทศมาเลเซียและลาวเพิ่มมากขึ้น แตกต่างจาก เวียดนามและจีนที่มีมูลค่าลดลง การนำเข้าเบญจมาศระหว่างปี 2558-2562 พบว่า ประเทศ ไทยยังคงนำเข้าจากประเทศมาเลเซียมากที่สุดและเป็นมูลค่าเกือบ ทั้งหมดของมูลการนำเข้ารวม โดยตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมามูลค่า การนำเข้าค่อนข้างคงที่อยู่ระหว่าง 280-325 ล้านบาท แนวโน้มการนำเข้าเบญจมาศของประเทศไทยน่าจะไม่แตกต่าง จากปัจจุบันมากนัก โดยมีการนำเข้าจากประเทศมาเลเซียเป็นหลัก เนื่องจากมีการขนส่งที่สะดวก และการผลิตเบญจมาศคุณภาพที่ตลาด ต้องการภายในประเทศมีไม่เพียงพอ รวมทั้งมีพื้นที่และความ หลากหลายของพันธุ์ค่อนข้างน้อย และปัญหาในการผลิต การจัดการผลิตเบญจมาศ การปลูกเบญจมาศในฤดูกาลปกติ จะอยู่ในช่วงเดือน มิถุนายน-มกราคม สามารถผลิตเป็นไม้ตัดดอกและไม้กระถาง โดยพันธุ์ ของเบญจมาศแบ่งได้ 6 ชนิดมีรายละเอียด ดังนี้ 1. Single Bloom มีกลีบดอกสีขาว สีเหลืองตรงกลางเหมือน ดอกเดซี่ ดอกมีขนาดใหญ่และมีกลีบรอบๆ ความสูงประมาณ 2-3 ฟุต และมี 1 ดอก/ต้น 2. Spider Blooms กลีบดอกประเภทนี้จะยาวและบางซึ่งทำ ให้ดูเหมือนขาแมงมุม ตรงกลางของดอกมีหลายเฉด เมื่อเจริญเติบโต กลีบดอกจะมีความยาวประมาณ 6 นิ้ว 3. Quilled Blooms กลีบดอกค่อนข้างแหลม ขอบของกลีบมี ลักษณะคล้ายขนนกและมีหลายสี เช่น ชมพู ม่วง และเหลือง 4. Anemone ดอกมีขนาดเล็ก ตรงกลางยกขึ้นเล็กน้อยและดู เหมือนเบาะหรือปุ่ม ดอกเบญจมาศชนิดนี้มีหลากหลายสีแต่เฉดสีม่วง เป็นเฉดที่นิยมมากที่สุด 5. Pompons เป็นชนิดที่มีความหลากหลายน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับชนิดอื่นๆ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-4 นิ้ว รูปร่าง เหมือนโลกที่มีกลีบดอกเล็กๆ 6. Spoon Blooms ลักษณะกลีบดอกคล้ายช้อนมีปลายหยิก เล็กน้อย และมีลักษณะคล้ายปุ่มที่ค่อนข้างแบน และกลีบดอกมีหลายสี ส่วนจำแนกภายในประเทศมีทั้งหมด 3 ชนิด ได้แก่ ชนิดดอกเดี่ยว ดอกช่อ และชนิดกระถาง สุภาพร สัมโย และอำนวย อรรถลังรอง

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน :

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา :

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน :

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา :

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน :

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา :

โดยวิธี :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :