สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ชา

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : THEACEAE

สกุล (Genus) : Thea

ชนิด (specific epithet) : sinensis

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ชาเป็นพืชสวนอุตสาหกรรมที่ใช้แปรรูปเป็นเครื่องดื่มและผลิตภัณฑ์อื่นๆ เพราะนอกจากจะเป็นพืชเศรษฐกิจที่มีการปรับตัวให้สามารถเข้ากับพื้นที่ได้เป็นเวลานานแล้วยังเป็นพืชที่สามารถใช้อนุรักษ์ดินและน้ำได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ชาเป็นพืชที่นำมาทำเป็นเครื่องดื่ม เป็นที่นิยมบริโภคของคนทั่วโลก โดยจีนเป็นประเทศแรกที่เริ่มนำชามาทำเป็นเครื่องดื่ม จากนั้นความนิยมในการดื่มชาก็ได้แพร่กระจายไปทั่วโลก ทั้งในทวีปอเมริกา ยุโรป เอเชีย และในบางประเทศของทวีปแอฟริกา ประเทศไทยมีการปลูกชากระจายอยู่ในพื้นที่หลายจังหวัดในภาคเหนือ เนื่องจากมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ในปัจจุบันประเทศไทยมีการนำเข้าสินค้าประเภทชา 625 เมตริกตัน เป็นชาชนิดผง 437.50 เมตริกตัน และชาใบ 187.50 เมตริกตัน (กรมการค้าต่างประเทศ, 2559) ผลผลิตชาของโลกเป็นชาดำหรือชาฝรั่งประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ อีก 30 เปอร์เซ็นต์ เป็นชาใบซึ่งรวมถึงชาจีนและชาเขียว ชาเขียวมักมีการผลิตที่ประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน กรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างกัน ก่อนหน้านี้ได้ศึกษาการแปรรูปชาที่กลุ่มเกษตรกรสามารถผลิตเอง เพื่อเพิ่มมูลค่าของชาที่ปลูกในพื้นที่เดิมทั้งชาจีนและชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica) ชามัทฉะเป็นชาที่ได้จากยอดชาที่พรางแสงก่อนการเก็บเกี่ยวเพื่อที่จะควบคุมปริมาณแสงแดดที่สัมผัสกับใบชากับ ระดับของการพรางแสงและระยะเวลาก่อนที่จะเก็บเกี่ยวจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเกษตรกร / บริษัท โดยทั่วไปจะมีการพรางแสงประมาณ 2 สัปดาห์ขึ้นไปก่อนการเก็บเกี่ยว จากนั้นนำยอดชามานึ่ง อบแห้งและบดละเอียด ใบชาที่ปลูกในที่ร่มระยะเวลานานจะมีระดับกรดอะมิโนและคลอโรฟิลล์ที่สูงขึ้นของ ชาที่ปลูกในร่มจึงมีสีเขียวสดใส ระยะเวลาการพรางแสงจะเพิ่มระดับของคาเฟอีนและ theanine ซึ่งเป็นส่วนประกอบในชาเขียว ทำให้มีรสชาติหวาน ชาที่มี theanine สูง จะมีรสชาติหวานและจะเป็นชา ในปัจจุบันประเทศไทยมีการนำเข้าสินค้าประเภทชา 625 เมตริกตัน เป็นชาชนิดผง 437.50 เมตริกตัน และชาใบ 187.50 เมตริกตัน (กรมการค้าต่างประเทศ, 2559) ผลผลิตชาของโลกเป็นชาดำหรือชาฝรั่งประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ อีก 30 เปอร์เซ็นต์ เป็นชาใบซึ่งรวมถึงชาจีนและชาเขียว ชาเขียวมักมีการผลิตที่ประเทศญี่ปุ่นและประเทศจีน กรรมวิธีการผลิตที่แตกต่างกัน ก่อนหน้านี้ได้ศึกษาการแปรรูปชาที่กลุ่มเกษตรกรสามารถผลิตเอง เพื่อเพิ่มมูลค่าของชาที่ปลูกในพื้นที่เดิมทั้งชาจีนและชาอัสสัม (Camellia sinensis var. assamica) ชามัทฉะเป็นชาที่ได้จากยอดชาที่พรางแสงก่อนการเก็บเกี่ยวเพื่อที่จะควบคุมปริมาณแสงแดดที่สัมผัสกับใบชากับ ระดับของการพรางแสงและระยะเวลาก่อนที่จะเก็บเกี่ยวจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับเกษตรกร / บริษัท โดยทั่วไปจะมีการพรางแสงประมาณ 2 สัปดาห์ขึ้นไปก่อนการเก็บเกี่ยว จากนั้นนำยอดชามานึ่ง อบแห้งและบดละเอียด ใบชาที่ปลูกในที่ร่มระยะเวลานานจะมีระดับกรดอะมิโนและคลอโรฟิลล์ที่สูงขึ้นของ ชาที่ปลูกในร่มจึงมีสีเขียวสดใส ระยะเวลาการพรางแสงจะเพิ่มระดับของคาเฟอีนและ theanine ซึ่งเป็นส่วนประกอบในชาเขียว ทำให้มีรสชาติหวาน ชาที่มี theanine สูง จะมีรสชาติหวานและจะเป็นชาเกรดที่สูงขึ้น และมีสารคาเทชิน ที่ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระและลดการเกิดโรคมะเร็ง อีกทั้งยังมีสารอาหารประเภทโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และวิตามินหลายชนิด ชามัทฉะมีความนิยมบริโภคทั้งในและในประเทศ เป็นชาที่ใช้ในพิธีการชงชาของประเทศญี่ปุ่น สามารถนำมาทำเครื่องดื่มชนิดร้อนและเย็นได้ ส่วนยอดชาที่สัมผัสกับแสงแดดจะเพิ่มระดับของวิตามินซีและแทนนิน แทนนินเป็นส่วนประกอบในชาเขียว ที่ทำให้ชามีรสฝาดและขม เพราะฉะนั้นชาโดยทั่วไปจะมีรสที่เข้มมากกว่าชาที่ได้จากการพรางแสง (Aiya co., LTD, 2559) เนื่องจากปัจจุบันต้องนำเข้าชามัทฉะจากต่างประเทศ จึงทำให้มีราคาสูง โดยชามัทฉะที่ผลิตในเมือง Uji มีราคาตั้งแต่ 2,900-6,000 บาท/กิโลกรัม (Matchazuki shop, 2559) ดังนั้น จึงควรมีการศึกษาวิธีการพรางแสงที่เหมาะสมเพื่อนำยอดชาจีนมาแปรรูปเป็นชามัทฉะ เพื่อเพิ่มมูลค่าของชาจีนที่เกษตรกรปลูกในประเทศไทย เพิ่มความสะดวกในการดื่มชาเขียวให้กับผู้บริโภค และลดการนำเข้าสินค้าเครื่องดื่มประเภทชาจากต่างประเทศในอนาคต กลุ่มพันธุ์ชาอัสสัมจัดได้ว่าเป็นชาพื้นที่เมืองที่มีแหล่งกำเนิดทางภาคเหนือของไทย และมีการกระจายไป ปลูกจนสามารถปรับตัวได้ดีในหลายพื้นที่ ภาคใต้มีเริ่มมีการปลูกชาอัสสัมเมื่อ พ.ศ. 2330 ที่ชุมชนบ้านเจ๊ะเหม อำเภอ แว้ง จังหวัดนราธิวาส โดยปลูกในสวนผลไม้ สวนยางพารา บริเวณบ้าน บริเวณทางเดิน ริมคลอง หรือริมสวน มีการแปรรูปเป็นชาระดับคุณภาพถือเป็นสินค้าโอทอปของจังหวัดนราธิวาสโดยกลุ่มสตรีผลิตชาบ้านเจ๊ะเหม ซึ่งมีสมาชิกมากกว่า 100 ราย ในปี 2548 มีการเพาะชำกล้าชามากกว่า 2 แสนต้น เพื่อกระจายแก่สมาชิก (ภีรกาญจน์. 2548)

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :