สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะพร้าวน้ำหอม

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ARECACEAE

สกุล (Genus) : Cocos

ชนิด (specific epithet) : nucifera

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สถานการณ์การผลิตมะพร้าวอ่อน มะพร้าว (Cocos nucifers Linn.) เป็นพืชในตระกูลปาล์ม วงศ์ Palmae มะพร้าวแบ่งเป็น 3 ประเภท ตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1. มะพร้าวอุตสาหกรรม(มะพร้าวแกง) ได้แก่ พันธุ์ที่ปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลแก่ 2. มะพร้าวเพื่อบริโภคผลสด ได้แก่ มะพร้าวน้้าหอม มะพร้าวน้้าหวาน และ 3. มะพร้าวผลิตน้้าตาล สถานการณ์การส่งออกและนาเข้า 1. การส่งออก ประเทศไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์มะพร้าวไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ในปี 2562 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์กะทิส้าเร็จรูปมากที่สุด โดยมีมูลค่าการส่งออกสูงถึง 12,766 ล้านบาท (ตารางที่ 1) ประเทศคู่ค้าที่ส้าคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และ เยอรมนี ผลิตภัณฑ์มะพร้าวอื่น ๆ ที่มีมูลค่าการส่งออกรองลงมา ได้แก่ เนื้อมะพร้าวแห้ง และ ถ่านกัมมันต์ ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,874, และ 665 ล้านบาท ตามล้าดับ ส่วนมะพร้าวอ่อน มูลค่าการส่งออกมากถึง 1,760 ล้านบาท 2. การนาเข้า ผลผลิตมะพร้าวแกง มีช่วงที่ออกน้อยในช่วงปลายปีต่อเนื่องถึงต้นปี จึงมีการอนุญาตในน้าเข้า ในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง เมษายน แต่ด้วยมีปัญหาแมลงศัตรูและการลักลอบน้าเข้าผิดกฎหมาย ปัจจุบันจึงอนุญาตให้น้าเข้าผ่านแค่ ด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพฯ และ ด่านตรวจพืชท่าเรือแหลมฉบัง นอกจากประเทศไทย น้าเข้ามะพร้าวผลแก่เพื่อการแปรรูปแล้ว ยังมีการน้าเข้าผลิตภัณฑ์มะพร้าว สถานการณ์การผลิตและการตลาดของไทย กรมฯ ได้มอบให้ ศวส.ชุมพร ผลิตต้นพันธุ์มะพร้าวพันธุ์ดี เพื่อให้เกษตรกรปลูกทดแทน ในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะพร้าวพันธุ์ดี โดยช่วง 2 ปีที่ผ่านมาได้ผลิตต้นพันธุ์มะพร้าวจ้าหน่ายให้เกษตรกรแล้ว จ้านวน 76,922 หน่อ และช่วง ธ.ค.62-ม.ค.63 กรมฯ ได้สนับสนุนมะพร้าวพันธุ์ไทย จ้านวน 10,000 หน่อ ให้เกษตรกรปลูก การผลิตมะพร้าวน้ำหอม พื้นที่ปลูกมะพร้าวน้้าหอม อยู่ในจังหวัด ราชบุรี เป็นหลัก (ภาพที่ 2) แต่ด้วยมะพร้าวน้้าหอม เป็นไม้ผลที่ไม่ต้องดูแล ใช้สารเคมีในการผลิตน้อยกว่าพืชผักและไม้ผลเศรษฐกิจอื่น ประกอบกับตลาดยังมีความต้องการ ท้าให้เกษตรกรนิยมปลูกมากขึ้น ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมามีการขยายพื้นที่ปลูกไปยังภาคอีสานและภาคใต้ อย่างน้อยมีผู้ปลูกมะพร้าวน้้าหอมเพิ่มขึ้น 20,000 ต้น/ปี ผลผลิตมะพร้าวอ่อนในรอบปี มักจะขาดแคลนในช่วง เม.ย.– ก.ค. ของทุกปี เนื่องจากผสมไม่ติดดอกตัวเมียร่วงในช่วง 6 เดือนก่อนหน้านั้น ต.ค./พ.ย.-ม.ค./ก.พ. ประมาณ 5 จั่นที่ผลผลิตไม่ติดหรือติดน้อยมาก/ไม่พัฒนาไปเป็นผล ท้าให้ราคามะพร้าวอ่อนในช่วงนั้นสูงกว่าปกติ ปัญหาที่พบคือ ไร ท้าลายผิวมะพร้าว และ ด้วงแรดระบาด ผู้ประกอบการและเกษตรกรยังไม่สามารถก้าจัดหมดไป อีกทั้งผลร่วง และ ผลแตก ยังเป็นปัญหา ท้าให้ผลผลิตไม่สม่้าเสมอตลอดปี และหากขาดน้้ายังท้าให้เกิดผลลีบผลทุยอีกด้วย 2. การตลาดมะพร้าวนาหอม ตลาดในประเทศ คนไทยนิยมบริโภคมะพร้าวอ่อนมานาน โดยทั่วไปมักซื้อทั้งผลในรูปมะพร้าวควั่น น้้ามะพร้าวสด ไอศกรีมมะพร้าว พบได้ทั่วไปในตลาดสด และแหล่งชุมชนต่าง ๆ โดยเฉพาะในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ธุรกิจการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ท้าให้การบริโภคในประเทศเพิ่มขึ้นด้วยจากนักท่องเที่ยวต่างชาติ นอกจากนี้ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ (Sport drink) เป็นที่นิยมมากขึ้น ท้าให้เกิดผลิตภัณฑ์น้้ามะพร้าวในบรรจุภัณฑ์ โดยผู้ประกอบในประเทศหลายบริษัทที่มีการผลิตน้้าผลไม้อยู่แล้ว หรือผลิตกะทิส้าเร็จรูป ได้น้า น้้ามะพร้าวมาผลิตจ้าหน่ายในหลากหลายขนาดและบรรจุภัณฑ์ ทั้งยังมี น้้ามะพร้าวผสม เช่น น้้ามะพร้าวผสมวุ้นมะพร้าว น้้ามะพร้าวผสมรังนก เป็นต้น เพื่อเพิ่มความแตกต่างและมูลค่าให้สินค้า จากรายงานสถานการณ์การค้าสินค้าเกษตร ประจ้าเดือน พฤศจิกายน 2562 โดยฝ่ายเกษตร ประจ้าสถานกงสุลใหญ่ ณ นครลอสแอนเจลิส รายงานปริมาณและมูลค่าการค้าสินค้าเกษตรและอาหารที่ส้าคัญระหว่างประเทศไทยและสหรัฐอเมริกา เดือน ก.ย. 62 มีปริมาณการค้ามะพร้าวและผลิตภัณฑ์ 2,129.9 ตัน มูลค่า 3.32 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และเพิ่มขึ้นเป็น 3,214.3 ตัน มูลค่า 4.85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในเดือน ต.ค. 62 และจากรายงานการปฏิเสธการน้าเข้าสินค้าเกษตรและอาหาร (Important Refusal Report) ขององค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา ในเดือน พ.ย. 62 ได้ปฏิเสธการน้าเข้าสินค้ามะพร้าวของบริษัท Cocos Enterprises (Thailand) Co.,Ltd จ้านวน 1 รายการ เนื่องจากไม่สอดคล้องตามข้อก้าหนด HACCP ส้าหรับน้้าผลไม้

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :