สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ชาน้ำมัน

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : THEACEAE

สกุล (Genus) : Camaridium

ชนิด (specific epithet) : oleifera

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Abel

ชนิดย่อย (Subspecies) :

พันธุ์ (Variety) : Changlin

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ชาน้ำมัน (Camellia Oil Tea)เป็นพืชในตระกูลชา (Genus Camellia)ที่มีการใช้ประโยชน์โดยการนำเมล็ดมาหีบน้ำมัน น้ำมันที่ได้มีคุณภาพดีทั้งในแง่การบริโภคเพื่อสุขภาพโดยตรง และนำมาประกอบอาหาร นอกจากนี้กากชาที่เหลือจากการหีบน้ำมันยังสามารถใช้ในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้ด้วย ในปีหนึ่ง ๆ ประเทศไทยนำเข้ากากชาในปริมาณมาก สำหรับคุณค่าของน้ำมันจากเมล็ดชาซึ่งเป็นที่รู้จักกันในนามของ “น้ำมันมะกอกแห่งทวีปเอเชีย” เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า น้ำมันมะกอกของชาวเมดิเตอเรเนียนเป็นน้ำมันที่มีสัดส่วนของกรดไขมันชนิดต่าง ๆ ในปริมาณที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ล่าสุดวิทยาศาสตร์การอาหารพบว่า ในเอเชียก็มีน้ำมันเมล็ดชาที่มีสัดส่วนของกรดไขมันชนิดต่าง ๆ ในปริมาณที่ดีที่ไม่ด้อยไปกว่าน้ำมันมะกอก นั่นคือ น้ำมันเมล็ดชา เป็นน้ำมันที่นิยมใช้กันทางใต้ของประเทศจีน เช่นในชาวหูหนาน มีการใช้น้ำมันชามานานกว่า 1,000 ปี เป็นน้ำมันที่สกัดจากเมล็ดของดอกชาคามิเลียโอลิเฟร่า (Camellia oleifera Abel,Theaceae) โดยวิธีการหีบเย็น (Cold pressed) ส่วนในประเทศญี่ปุ่นใช้น้ำมันชาที่สกัดมาจากชาพันธุ์ Camellia japonica การปลูกชาน้ำมันในประเทศไทย เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2546 โดยมีการดำเนินการ โครงการศึกษา และพัฒนาการปลูกชาน้ำมันและพืชน้ำมันอื่น ๆ โดยเริ่มขึ้นจาก พระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีมูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯร่วมกันสนองพระราชดำริดังกล่าว ด้วยการปลูกต้นชาน้ำมันและศึกษาทดลองการหีบเมล็ดชาน้ำมันเพื่อผลิตน้ำมันสำหรับบริโภค บนพื้นที่ประมาณ 3,000 ไร่ในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย ในพื้นที่ต่าง ๆ ของโครงการศึกษาและพัฒนาการปลูกชาน้ำมันของมูลนิธิชัยพัฒนา ทางสาธารณรัฐประชาชนจีน ได้น้อมเกล้าฯถวายเมล็ดพันธุ์ 2,500 กิโลกรัม รวมทั้งต้นกล้าชาน้ำมันจำนวน 40,000 ต้น จากเมืองกวางสี สาธารณรัฐประชาชนจีน แล้วเริ่มนำมาปลูกในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น ในโครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดเชียงราย พื้นที่ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่ (โป่งน้อย) อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่แปลงชาน้ำมันบ้านโปง มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตำบลคลองไผ่ อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา พื้นที่บริเวณสวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ จังหวัดเชียงใหม่ รวมถึงพื้นที่บ้านปางมะหัน บ้านปูนะ และพื้นที่ใกล้เคียง ในตำบลเทอดไทย อำเภอ แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ปัจจุบันชาน้ำมันในแหล่งปลูกต่าง ๆ เริ่มให้ผลผลิตแล้ว คาดว่าจะเริ่มให้ผลผลิตอย่างจริงจังและเก็บเกี่ยวผลผลิตนำเข้าสู่โรงงานผลิตน้ำมันได้ ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2554 จากข้อมูลในปี 2561 พบว่า มีเกษตรกรผู้ปลูกชาน้ำมัน พื้นที่ 5,461 ไร่ และจากการศึกษาพันธุ์ในแหล่งปลูกในประเทศไทย พบว่า ชาน้ำมันมีพฤติกรรมการเจริญเติบโต และการกระจายตัวของลักษณะต่าง ๆ มาก ทำให้ยากในการจัดการทั้งในแง่ของการการจัดทรงพุ่ม การจัดการผลผลิต ที่ สำหรับในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีงานวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์ชาน้ำมันเริ่มตั้งแต่ปี 2507 ถึงปัจจุบัน โดยกลุ่มวิจัยป่าเศรษฐกิจ (Economic forestry research) ของ The Research Institute of Subtropical Forestry (RISF) สังกัด Chinese Academy of Forestry (CAF) โดยการปรับปรุงพันธุ์จะแบ่งกลุ่มพันธุ์เป็น Series เช่น Changlin และ Yalin หลักในการคัดเลือกพันธุ์ชาน้ำมัน ได้แก่ เปลือกผลบาง เมล็ดใหญ่ มีปริมาณน้ำมันสูง (มากกว่า 40% ของน้ำหนักเมล็ด และมากกว่า 25% ของน้ำหนักแห้ง) ทรงพุ่มเตี้ยแผ่กว้าง การออกดอกพร้อมกันและติดผลสม่ำเสมอ หลังใบ ลำต้น และกิ่งมีขน ต้านทานต่อโรค สำหรับพันธุ์ที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์และส่งเสริมให้แก่เกษตรกรปลูกในประเทศจีนในปัจจุบัน ได้แก่ Changlin 3, Changlin 4, Changlin 18, Changlin 21, Changlin 23, Changlin 27, Changlin 40, Changlin 53, Changlin 54, Changlin 56 และ Changlin 166 ซึ่งสายพันธุ์เหล่านี้อาจจะมีพันธุ์ที่สามารถเจริญเติบโตได้ดี สำหรับใช้พัฒนาเป็นพันธุ์ปลูกในแหล่งปลูกของประเทศไทย นอกจากชาน้ำมันในตระกูล Camellia oleifera พันธุ์ต่าง ๆ แล้ว ในต่างประเทศยังมีการใช้พืชตระกูลชาอื่น ๆ ปลูกเพื่อหีบน้ำมันมีทั้งหมด 20 สกุล ได้แก่ C. meiocarpa , C. vietnamensis, C. yuhsiensis, C. octopetala, C. reticulate, C. polyodonta, C. chekangoleosa, C. semiserrata, C. saluensis, C.yunnanensisและ C. tsaii เป็นต้น แต่สำหรับในประเทศไทย ซึ่งพบว่ามีพืชตระกูลชาป่าที่มีลักษณะใกล้เคียงกับชาตระกูล Camellia oleifera และจากการนำเมล็ดไปหีบน้ำมันเบื้องต้น พบว่า มีปริมาณน้ำมันใกล้เคียงกับชาน้ำมันพันธุ์จากต่างประเทศ การศึกษาให้ได้พันธุ์ชาที่สามารถใช้ผลิตน้ำมันจากชาพื้นเมืองของไทย และชาอื่น ๆ จากต่างประเทศ เพื่อให้ได้พันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับแหล่งปลูกของประเทศไทย จัดเป็นเรื่องที่ควรศึกษาเพื่อให้ได้พันธุ์ชาสำหรับการใช้พัฒนาพันธุ์ต่อไป

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :