สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะม่วงหิมพานต์

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ANACARDIACEAE

สกุล (Genus) : Anacardium

ชนิด (specific epithet) : occidentale

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่มีข้อมูล

พันธุ์ (Variety) : พื้นเมือง

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชสวนยืนต้นชนิดหนึ่งที่เป็นพืชความหวังใหม่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 ที่ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน กำลังส่งเสริมพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่งของประเทศเพื่อการส่งออก มะม่วงหิมพานต์สามารถปลูกได้ดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคอื่นๆ ของประเทศ จึงเป็นพืชชนิดหนึ่งที่ใช้ปลูกทดแทนมันสำปะหลังในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกำลังปลูกในโครงการน้ำพระทัยจากในหลวงเพื่อพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามแนวพระราชดำริหรือโครงการอีสานเขียว โครงการเร่งรัดการปลูกไม้ผลเพื่อกระจายรายได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โครงการสี่ประสานและโครงการอื่นๆ อีกมาก การปลูกมะม่วงหิมพานต์มีข้อดีหลายประการ นอกจากจะเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรแล้ว สามารถส่งไปขายยังต่างประเทศนำรายได้เข้าประเทศเนื่องจากปริมาณการผลิตของตลาดโลกยังต่ำกว่าความต้องการมาก ราคาของผลผลิตทั้งเมล็ดดิบและเมล็ดเนื้อในอยู่เกณฑ์ดีและการตลาดไม่ค่อยมีปัญหา ฤดูการเก็บเกี่ยวไม่ซ้ำกับพืชอื่นทำให้เกษตรกรใช้แรงงานให้เป็นประโยชน์มากขึ้น เมลล็ดเก็บไว้ได้นาน และยังเป็นการเพิ่มการปลูกป่า จะทำให้สภาพภูมิอากาศดีและสิ่งแวดล้อมดีขึ้นด้วย มะม่วงหิมพานต์มีถิ่นกำเนิดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศบราซิลจากนั้นแพร่กระจายในแถบตอนบนของอเมริกาใต้ อเมริกากลางและเม็กซิโก ในศตวรรษที่16 ชาวโปตุเกสได้นำมาปลูกในประเทศไทยครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2444 ที่จังหวัดระนอง ซึ่งปัจจุบันได้แพร่กระจายปลูกทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือจากสถิติของกรมส่งเสริมการเกษตร ปี พ.ศ. 2529/2530 มีเนื้อที่ปลูก 301,806 ไร่แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคใต้ 124,133 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 121,075 ไร่ ภาคกลาง 3,199 ไร่ ภาคตะวันออก 29,151 ไร่ ภาคเหนือ 17,079 ไร่ และภาคตะวันตก 7,169 ไร่ และผลผลิตรวมทั้งประเทศ 35,865 ตัน และผลผลิตเฉลี่ย 249 กิโลกรัมต่อไร่ ปัจจุบันเนื้อที่ปลูกมีมากขึ้น เนื่อจจากทางราชการได้ส่งเสริมให้ปลูกแล้ว ยังมีบริษัทเอกชนหลายบริษัทกำลังส่งเสริมการปลูกแบบครบวงจรอยู่ มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชที่ค่อนข้างทนทานต่อความแห้งแล้ง ต้องการสภาพภูมิอากาศแล้งอย่างน้อย 4-6 เดือนต่อปี โดยเฉพาะช่วงออกดอกและเก็บเกี่ยวผลผลิต สามารถขึ้นได้ในระหว่างเส้นรุ้ง 20 องศาเหนือ และ 20 องศาใต้ ปริมาณน้ำฝน 20-150 นิ้วต่อปี ความสูงของพื้นที่ตั้งแต่ระดับน้ำทะเลถึง 2,000 ฟุต ไม่ชอบอากาศหนาวเย็น ปลูกขึ้นได้ง่าย เจริญเติบโตเร็ว ดูแลรักษาง่าย ปลูกได้ในดินแทบทุกชนิด แม้กระทั่งดินทราย และดินลูกรังแต่ควรเป็นดินร่วนปนทราย หน้าดินลึกอย่างน้อย 1 เมตร มีการระบายน้ำได้ดี ไม่ควรปลูกในบริเวณที่มีน้ำท่วมขัง การระบายน้ำเลวดินเค็ม ดินเกลือ ดินด่างจัด ดินเปรี้ยว

ไถแปร :ไม่มีการไถดิน

อื่นๆ : ขุดหลุมขนาด 50x50x50เซนติเมตร คลุกด้วยปุ๋ยคอก 0.5-1 บุ้งกี๋ และหินฟอสเฟต 250 กรัมต่อหลุม การปลูก เตรียมหลุมห่างกัน 6x6 เมตร

วิธีปลูก : ปลูกด้วยต้นกล้า ไม่ควรมีอายุกล้าเกิน 3 เดือน เพราะถ้าหากอายุมากกว่านี้รากจะขดพันกันในก้นถุง เมื่อนำไปปลูกระบบรากจะกระจายน้อย ทำให้โค่นล้มง่าย ถ้าปลูกด้วยเมล็ดนิยมปลูกหลุมละ 2-3 เมล็ด เมื่ออายุ 1-2 เดือน จึงถอนให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม

อัตราปลูก : ระยะปลูก 6x6 เมตร จำนวน 45 ต้นต่อไร่ เมื่ออายุ 6-8 ปี ตัดให้มีระยะปลูก 6x12 เมตร เหลือ 22 ต้นต่อไร่ เมื่ออายุ 11-12 ปี ตัดแถวเว้นแถวให้มีระยะปลูก 12x12 เมตร เหลือจำนวน 11 ต้นต่อไร่

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : พันธุ์รับรองหรือพันธุ์เอกชน มีรูปร่างสมบูรณ์มีขนาดน้ำหนักเมล็ด 5 กรัมขึ้นไป และเป็นเมล็ดที่จมน้ำหรือเมล็ดที่มีความถ่วงจำเพาะสูงกว่าน้ำเท่านั้น ถ้าเป็นต้นพันธุ์ดีควรเป็นต้นที่ทนทานต่อหนอนเจาะลำต้น หรือต้นตอพันธุ์พื้นเมือง มีการเปลี่ยนยอดแบบเสียงข้างหรือต่อยอด

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว : มะม่วงหิมพานต์แต่ละต้นสุกไม่พร้อมกัน ต้องเก็บเกี่ยวไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกันประมาณ 1 สัปดาห์ การเก็บเกียวจะเก็บเมล็ดที่แก่และร่วงหล่น(รวมกันไว้ใต้โคนต้นก่อน)แล้วปลิดผลปลอมออกก่อนนำไปผึ่งแดดอย่างน้อย 3-5 วัน เพื่อลดความชื้นภายในเมล็ดออก คัดเมล็ดจมน้ำและเมล็ดลอยน้ำออกจากกันรวมทั้งคัดเมล็ดที่เล็กและไม่สมบูรณ์ออก การคัดเลือกเมล็ดเพื่อสะดวกในการนำไปทำพันธุ์และการเก็บรักษา

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ : ไม่ระบุ

อัตรา : ไม่ระบุ

วิธีการ : ไม่ระบุ

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : CRD

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 3

จำนวนซ้ำ (Replication) : 3

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย : เมตร

ขนาดความยาวแปลงย่อย : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก : อื่นๆ

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :