สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : กล้วย

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) :

สกุล (Genus) :

ชนิด (specific epithet) :

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) :

ชนิดย่อย (Subspecies) :

พันธุ์ (Variety) : กล้วยน้ำว้า กล้วยหอม กล้วยไข่ และกล้วยพันธุ์ต่างๆ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : พื้นที่ทางการเกษตรไทย ประมาณ 149.26 ล้านไร่ เป็นพื้นที่สวนไม้ผลไม้ยืนต้น 34.91 ล้านไร่ คิดเป็น 23.4 เปอร์เซ็นต์ ปี 2561 มีพื้นที่ปลูกกล้วยประมาณ 481,639 ไร่ โดยเป็นพื้นที่ปลูกกล้วยน้ำว้ามากที่สุด 328,456 ไร่ ผลผลิต 184,251 ตัน พื้นที่ปลูกกล้วยไข่ 63,233 ไร่ ผลผลิต 32,159 ตัน และ พื้นที่ปลูกกล้วยหอม 62,525 ไร่ ผลผลิต 30,082 ตัน ผลผลิตมากกว่าร้อยละ 90 บริโภคภายในประเทศ

ไถแปร :อย่างน้อย 1 ครั้งขึ้นกับสภาพดิน

อื่นๆ : ไถตากดิน ตากดิน ไถพรวน ปรับพื้นที่

วิธีปลูก : ยกร่องหลังเต่าเพือช่วยการระบายน้ำ ส่วนใหญ่ปลูกด้วยการแยกหน่อ ยกเว้นงานวิจัยที่กำหนดให้ใช้ต้นจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หรือวิธีการอื่น เตรียมหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกอัตรา 5 กิโลกรัมต่อหลุม คลุกเคล้ากับหน้าดิน รองก้นหลุมปลูกด้วยหินฟอสเฟต อัตรา 100-200 กรัม/หลุม ปลูก วางหน่อพันธุ์ที่หลุมปลูกให้ลึก 25-30 เซนติเมตร โดยจัดวางหน่อพันธุ์ให้ด้านที่ติดกับต้นแม่อยู่ในทิศทางเดียวกัน กลบดินลงหลุมปลูกและกดดินบริเวณโคนต้นให้แน่น แล้วรดน้ำให้ชุ่ม

อัตราปลูก : 2-4x2-4 เมตร ตามชนิดของกล้วย

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : หน่อ ต้นจากการผ่าหน่อ หรือต้นจากการพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ : เมทาแลกซิล

อัตรา : 100-400 ต้นต่อไร่ ตามชนิดกล้วย

วิธีการ : แยกหน่อ/ เพาะเมล็ด/ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (อาศัยห้องปฏิบัติการของ สวส.)

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ : 12/17/2020 12:00:00 AM

ปุ๋ย/ฮอร์โมน :

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา :

โดยวิธี :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง : การทดสอบสายต้นกล้วยน้ำว้าในแปลงเกษตรกร: เพ็ญจันทร์ สุทธานุกูล นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ศวส.สุโขทัย สวส กรมวิชาการเกษตร

ฤดูปลูก-ปี : 2561-2562

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ไร่เกษตรกร

จังหวัด : เลย

อำเภอ : อำเภอวังสะพุง

ตำบล : หนองหญ้าปล้อง

พื้นที่ลาดเอียง : ไม่มีข้อมูล เป็นตัวเลข มีทั้งที่ลุ่มที่ราบ ที่ดอนที่มีความลาดเอียง

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : CRD

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 3 กรรมวิธี/พันธุ์

จำนวนซ้ำ (Replication) : 3 กรรมวิธี/พันธุ์

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) : 3 ไร่

ขนาดความกว้างแปลงย่อย : 3 พันธุ์ๆละ 1 ไร่ เมตร

ขนาดความยาวแปลงย่อย : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : 20ต้น เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) : 400

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) : 400

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข : บางแปลงพบกล้วยทดลองเป็นโรคตายพรายไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา : กล้วย

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) : 800-1000

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา : ปุ๋ยอินทรีย์

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด : กำจัดวัชพืชด้วยพาราควอท

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :