สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : สมุนไพรและเครื่องเทศ

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : กัญชา

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : CANNABACEAE

สกุล (Genus) : Cannabis

ชนิด (specific epithet) : sativa

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ระบุ

พันธุ์ (Variety) : พื้นเมือง

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ในปี 2547 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชเสาวนีย์ในโอกาสที่เสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมราษฎรในพื้นที่ภาคเหนือ มีพระราชประสงค์ที่สนับสนุนให้มีการศึกษาและส่งเสริมให้เกษตรกรชาวเขาปลูกเฮม(Hemp) เพื่อใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มในครัวเรือนและจำหน่ายสู่ตลาด เพื่อเป็นการส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้จากการผลิตหัตกรรมต่อเนื่อง เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2548 คณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายให้สำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางกำหนดมาตรการในการพัฒนาและส่งเสริมการปลูกเฮมพ์ ให้สามารถผลิต เพื่อเป็นรายได้เสริมแก่เกษตรกรบนพื้นที่สูง พืชเฮมพ์(Hemp)เป็นชนิดย่อย(subspecies) ของกัญชา จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 มีสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางเช่นเดียวกับกัญชาคือ สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล(Tetrahydrocannnabinol, THC) ปัจจุบันการดำเนินการเกี่ยวกับเฮมพ์ จึงต้องขออนุญาตผลิต จำหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตามกฏกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 เช่นเดียวกับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ชนิดอื่น ซึ่งกฎกระทรวงฉบับดังกล่าวไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการขออนุญาต การออกใบอนุญาต การควบคุม และการกำกับดูแลการปลูกเฮมพ์ เป็นการเฉพาะ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้ เพื่อให้สามารถส่งเสริมให้มีการปลูกเฮมพ์เป็นพืชเศรษฐกิจ เพื่อสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและนำรายได้มาสู่ประเทศได้ ขณะเดียวกันก็ต้องควบคุมและกำกับดูแลอย่างเข้มงวดและรัดกุม มิให้มีการรั่วไหลไปใช้ในทางที่ผิดได้ การครอบครองเฮมพ์ต้องดำเนินการตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 4(พ.ศ.2522) ออกตามความในพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 โดยอาศัยตามมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 ซึ่งกำหนดให้การขอรับใบอนุญาตฯ จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษเป็นรายๆ ไป (กระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย) การจำแนกกัญชงออกจากกัญชา โดยใช้เทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรสแบบ duplex PCR โดยออกแบบไพร์เมอร์จากบริเวณยีน THCA synthase และติดฉลากไพร์เมอร์ด้วย 6-FAM เพื่อตรวจสอบชิ้น PCR products ที่แยกขนาดด้วยเทคนิค Capillary Electrophoresis ถ้าเป็นพืชกัญชา ได้ PCR products ขนาด 94 bp และ 158 bp ถ้าเป็นพืชกัญชง ได้ PCR products ขนาด 94 bp เพียงชิ้นเดียว ปฏิกิริยาลูกโซ่นี้มีความไวสูง ใช้สารพันธุกรรมเริ่มต้นในระดับพิโคกรัม (1 x 10-12 กรัม) (อาภาพร และ ณัฎฐินี , 2553)

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ : เทคโนโลยีการผลิต เนื่องกัญชาเป็นพืชวันสั้น ความยาวช่วงแสงต่อวันมีผลการเจริญเติบโตให้สะสมอาหารได้เพียงพอต่อผลผลิต ในการงอกของเมล็ดใช้เวลา 2-10 วัน ได้รับแสงจำนวน 16 ชั่วโมงต่อวัน ระยะนี้จะมีใบเลี้ยงเกิดขึ้น(1 คู่) เป็นระยะที่ต้องระวังไม่ให้มีความชื้นมากเกินไปซึ่งอาจจะเกิดโรคที่ต้นกล้าได้ง่าย หลังนี้ 2-3 สัปดาห์ ในขณะได้รับแสง 16 ชั่วโมงต่อวัน จะได้ต้นที่มีใบจริง 4 คู่ เป็นระยะสุดท้ายของระยะกล้า เมื่อเลี้ยงดูให้น้ำ ให้ปุ๋ย 4-6 สัปดาห์ (Vegetative Growth) ถ้าเพิ่มกิ่ง เพิ่มใบให้มาก ๆ อาจใข้เวลาถึง 15 สัปดาห์ จะเข้าสู่ระยะการเจริญพันธุ์ (Flowering stage) ระยะนี้ต้องการแสง 18 ชั่วโมงต่อวัน เมื่อต้นกัญชาออกดอกจะมีต้นตัวผู้ที่มีดอกเป็นกระเปาะกลม ส่วนต้นตัวเมืยจะดอกผอมแหลมมีปลายเกสรโผล่ออกมาให้เห็น(pistil) เทคโนโลยีการผลิต เนื่องกัญชาเป็นพืชวันสั้น ความยาวช่วงแสงต่อวันมีผลการเจริญเติบโตให้สะสมอาหารได้เพียงพอต่อผลผลิต ในการงอกของเมล็ดใช้เวลา 2-10 วัน ได้รับแสงจำนวน 16 ชั่วโมงต่อวัน ระยะนี้จะมีใบเลี้ยงเกิดขึ้น(1 คู่) เป็นระยะที่ต้องระวังไม่ให้มีความชื้นมากเกินไปซึ่งอาจจะเกิดโรคที่ต้นกล้าได้ง่าย หลังนี้ 2-3 สัปดาห์ ในขณะได้รับแสง 16 ชั่วโมงต่อวัน จะได้ต้นที่มีใบจริง 4 คู่ เป็นระยะสุดท้ายของระยะกล้า เมื่อเลี้ยงดูให้น้ำ ให้ปุ๋ย 4-6 สัปดาห์ (Vegetative Growth) ถ้าเพิ่มกิ่ง เพิ่มใบให้มาก ๆ อาจใข้เวลาถึง 15 สัปดาห์ จะเข้าสู่ระยะการเจริญพันธุ์ (Flowering stage) ระยะนี้ต้องการแสง 18 ชั่วโมงต่อวัน เมื่อต้นกัญชาออกดอกจะมีต้นตัวผู้ที่มีดอกเป็นกระเปาะกลม ส่วนต้นตัวเมืยจะดอกผอมแหลมมีปลายเกสรโผล่ออกมาให้เห็น(pistil)

ข้อมูลอื่นๆ : C. sativa L. มีชุดโครโมาโซมเป็น 2n =2x = 20 มีต้นกำเนิดอยู่ที่ประเทศจีน และมีการกระจายพื้นที่ออกไปตั้งแต่พื้นที่ระดับน้ำทะเลไปจนถึงบริเวณเทือกเขาหิมาลัยและปัจจุบันมีการปลูกอย่างแพร่หลายทั่วโลก จากหลักฐานทางโบราณคดีพบว่ามนุษย์มีการนำพืชสกุลกัญชามาใช้ปประดยชน์โดยการทำอาหารและนำเส้นใยมาใช้ประโยชน์ เป็นระยะเวลามากกว่า 10,000 ปี(Thomas and ElSohly, 2016 และ Bonini et al., 2018) และมีหลักฐานการใช้ประโยชน์จากเส้นใยในพื้นที่อียิปต์และตะวันออกกลาง ต่อมาแพร่กระจายไปสู่ยุดรปในช่วงปี 1,000 และ 2,000 ปีก่อนคริสตกาล และ ในช่วงคริสต์ศักราชที่ 1606 มีการนำมาปลูกเพื่อใช้ประโยชน์จากเส้นใยในอเมริกาเหนือ สำหรับการใช้ประโยชน์ในการเป็นสมุไพร มีหลักฐานในการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ตะวันออกกลางและเอเชียในช่วง 600 ปีก่อนคริสตกาล และในศตวรรษที่ 19 ประเทศในยุโรปตะวันตกได้นำพืชสกุลกัญชามาใช้เป็นยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น โรคลมบ้าหมู บาดทะยัก โรคไขข้อ ไมเกรน โรคหอบหืด โรคประสาทส่วนปลายอ่อนเพลีย และอาการนอนไม่หลับ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :