สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะพร้าว

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ARECACEAE

สกุล (Genus) : Cocos

ชนิด (specific epithet) : nucifera

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) :

ชนิดย่อย (Subspecies) :

พันธุ์ (Variety) : ชุมพรลูกผสม 60

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สถานการณ์การผลิตมะพร้าว มะพร้าวแบ่งเป็น 3 ประเภท ตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ ดังนี้ 1. มะพร้าวอุตสาหกรรม(มะพร้าวแกง) ได้แก่ พันธุ์ที่ปลูกเพื่อเก็บเกี่ยวผลแก่ 2. มะพร้าวเพื่อบริโภคผลสด ได้แก่ มะพร้าวน้ำหอม มะพร้าวน้ำหวาน และ 3. มะพร้าวผลิตน้ำตาล สถานการณ์การส่งออกและนำเข้า 1. การส่งออก ประเทศไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์มะพร้าวไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ในปี 2562 มีการส่งออกผลิตภัณฑ์กะทิส้าเร็จรูปมากที่สุด โดยมีมูลค่าการส่งออกสูงถึง 12,766 ล้านบาท (ตารางที่ 1) ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และ เยอรมนี ผลิตภัณฑ์มะพร้าวอื่น ๆ ที่มีมูลค่าการส่งออกรองลงมา ได้แก่ เนื้อมะพร้าวแห้ง และ ถ่านกัมมันต์ ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,874, และ 665 ล้านบาท ตามล้าดับ ส่วนมะพร้าวอ่อน มูลค่าการส่งออกมากถึง 1,760 ล้านบาท 2. การนำเข้า ผลผลิตมะพร้าวแกง มีช่วงที่ออกน้อยในช่วงปลายปีต่อเนื่องถึงต้นปี จึงมีการอนุญาตในน้าเข้า ในช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง เมษายน แต่ด้วยมีปัญหาแมลงศัตรูและการลักลอบน้าเข้าผิดกฎหมาย ปัจจุบันจึงอนุญาตให้น้าเข้าผ่านแค่ ด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพฯ และ ด่านตรวจพืชท่าเรือแหลมฉบัง นอกจากประเทศไทย น้าเข้ามะพร้าวผลแก่เพื่อการแปรรูปแล้ว ยังมีการน้าเข้าผลิตภัณฑ์มะพร้าว สถานการณ์การผลิตและการตลาดของไทย กรมฯ ได้มอบให้ ศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพร ผลิตต้นพันธุ์มะพร้าวพันธุ์ดี เพื่อให้เกษตรกรปลูกทดแทน ในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะพร้าวพันธุ์ดี โดยช่วง 2 ปีที่ผ่านมาได้ผลิตต้นพันธุ์มะพร้าวจำหน่ายให้เกษตรกรแล้ว จ้านวน 76,922 หน่อ และช่วง ธ.ค.62-ม.ค.63 กรมฯ ได้สนับสนุนมะพร้าวพันธุ์ไทย จ้านวน 10,000 หน่อ ให้เกษตรกรปลูก 3. การผลิตมะพร้าวแกง เนื่องจากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงท้าให้ผลผลิตลดลงและบางส่วนไม่ได้คุณภาพรวมไปถึงการระบาดของแมลงศัตรูที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นหนอนหัวดำและแมลงดำหนามมะพร้าวส่งผลให้ผลิตลดลง แต่ปี 2561 ผลผลิตมะพร้าวมีประมาณ 858,235 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ที่มีจ้านวน 761,914 ตัน เนื่องจากแหล่งปลูกมะพร้าวที่สำคัญ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มฟื้นตัวจากการระบาดของศัตรูพืชแมลงดำหนามและหนอนหัวดำ ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนให้เกษตรกรใช้ศัตรูธรรมชาติตัวเบียน บราคอนในพื้นที่ระบาด ขณะที่เขตภาคใต้มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอ (มากกว่าปีละ 2,000 มม.) ผลผลิตมะพร้าวจึงเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ผลผลิตต่อไร่ ปี 2561 อยู่ที่ 1,133 กิโลกรัม ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2560 ที่ให้ผลผลิต 1,007 กิโลกรัมต่อไร่ 5. พื้นที่ปลูกมะพร้าวแกงสำคัญ 5 อันดับแรกของไทย พื้นที่ปลูกมะพร้าวทั้งประเทศปี 2562 ของไทย มีจำนวน 847,881 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกจังหวัดทางภาคใต้ 5 ล้าดับแรก ได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 352,813 ไร่ จังหวัดชุมพร 97,279 ไร่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 81,111 ไร่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 67,552 ไร่ จังหวัดปัตตานี 44,463 ไร่ เป็นต้น สถานการณ์การตลาด 1. การตลาดของมะพร้าวแกง 1. ความต้องการใช้มะพร้าวผลในประเทศ ของผลผลิตทั้งหมดที่เป็นความต้องการใช้ เพื่อการบริโภคโดยตรงร้อยละ 35 อีกร้อยละ 65 ใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูป เมื่อผลผลิตในประเทศลดลงความต้องการของภาคอุตสาหกรรมยังมีอย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้น ท้าให้ราคาผลผลิตมะพร้าวและราคากะทิสดสูงขึ้นเป็น 2 เท่าในช่วงปลายปี 2562 – ปัจจุบัน (ม.ค. 63) 2. การส่งออก ในรูปกะทิสำเร็จรูป การส่งออกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้บริโภคในต่างประเทศมีความนิยมบริโภค กะทิสำเร็จรูป เช่น ใช้ในการปรุงอาหาร โดยเฉพาะตลาด สหรัฐอเมริกาและตลาดจีน 3. ราคาของผลิตภัณฑ์มะพร้าว จากรายงานของ UCAP พบว่า ราคาของน้้ามันมะพร้าวบริสุทธิ์ (virgin coconut oil) สูงเป็น 4.7 เท่าของราคาวุ้นน้ำมะพร้าวเป็น 1.1 เท่าของราคากะทิผงเป็น 2.5 เท่าของราคาน้ำกะทิเป็น 2 เท่าของมะพร้าวฝอยอบแห้ง และเป็น 2.1 เท่าของราคาแป้งมะพร้าว ส่วนราคาของถ่านกัมมันต์สูงกว่าราคาของถ่านชาโคลซึ่งเป็นวัตถุดิบ 3.6 เท่า และน้ำส้มสายชูที่ผลิตจากน้ำมะพร้าว มีราคาเป็น 1.5 เท่าของน้ำมะพร้าวที่เป็นวัตถุดิบ

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :