สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะละกอ

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : CARICACEAE

สกุล (Genus) : Carica

ชนิด (specific epithet) : papaya

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) :

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ปริมาณความต้องการบริโภคมะละกอไม่ต่ำกว่า 200,000 ตัน/ปี (ผลดิบ 80,000 ตัน/ปี ผลสุก 50,000 ตัน/ปี และโรงงานอุตสาหกรรมไม่ต่ำกว่า 70,000 ตัน/ปี) ผลผลิตส่วนใหญ่ร้อยละ 98 ใช้บริโภคภายในประเทศ ที่เหลือร้อยละ 2 เป็นวัตถุดิบส่งโรงงานแปรรูปเป็น ผลไม้กระป๋อง ผลิตภัณฑ์อื่นๆ และส่งออกในรูปผลสด โดยในปี 2554 ประเทศไทยส่งออกมะละกอและผลิตภัณฑ์ปริมาณ 3,458 ตันมูลค่า 111.885 ล้านบาท (มะละกอสด 1,170 ตันมูลค่า 15.204 ล้านบาทและมะละกอกระป๋อง 2,288 ตัน มูลค่า 96.682 ล้านบาท) ในปี 2560 ประเทศไทยส่งออกมะละกอและผลิตภัณฑ์ปริมาณ 1,933 ตันมูลค่า 133.728 ล้านบาท มีพื้นที่ปลูกในปี 2562 ประมาณ 57,524 ไร่ ผลผลิตรวม 87,498 ตัน

ไถแปร :

อื่นๆ : 1. การปลูกแบบยกร่องในพื้นที่ลุ่ม - ขุดดินยกร่องขนาดกว้าง 3-4 เมตร โดยมีคูน้ำระหว่างร่อง กว้าง 1 เมตร - หลังจากขุดร่อง หว่านปูนขาว อัตรา 200 กก.ต่อไร่ แล้วพรวนดินให้ร่วนซุย - ควรปรับดินบนสันร่องให้โค้งเป็นหลังเต่าอยู่เสมอ เพื่อป้องกันน้ำขังโคนต้น 2. การปลูกในที่ดอน - ไถดะและตากดินไว้ 7-14 วัน - หว่านปูนขาว 200 กก.ต่อไร่ แล้วไถ

วิธีปลูก : เพาะกล้า

อัตราปลูก : 2.0 - 2.5 x 2.5 - 3.0 เมตร

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : 1.1 ปุ๋ยเคมี - อายุ 1-6 เดือน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 100 กรัม/ต้น ทุกเดือน - อายุ 7-12 เดือน ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 200 กรัม/ต้น ทุกเดือน - อายุมากกว่า 12 เดือน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับสูตร 13-13-21 อัตรา 200 กรัม/ต้น ใส่ทุก 2 เดือน

โดยวิธี :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : 1.2 ปุ๋ยอินทรีย์ - อายุ 7-12 เดือน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 5-10 กก.ต่อต้น ใส่ครั้งเดียว - อายุมากกว่า 12 เดือน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 10-15 กก.ต่อต้น แบ่งใส่ 2 ครั้ง ทุก 6 เดือน

โดยวิธี :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

วิธี : ใช้มินิสปริงเกอร์ หรือใช้สายยางรดน้ำ

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 0

โรคพืช

วันที่ :

ชนิดสารเคมี :MBC + mancozeb(Delsene Mx 80% WP

อัตรา :3 กรัม ต่อ เมล็ด 1 กิโลกรัม

วันที่ :

ชนิดสารเคมี :Metalaxyl (Ridomil 25% WP)

อัตรา :20-40 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร

วันที่ :

ชนิดสารเคมี :benomyl (Benlate 50% WP)

อัตรา :6-12 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่น 10-15 วัน/ครั้ง เมื่อมะละกอเริ่มติดผล


แมลง ไร และศัตรูพืช

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

อัตรา :2 ช้อนแกง ต่อ น้ำ 1 ปี๊บ ทุก 20 วัน

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

อัตรา : อัตรา 20 มล.ต่อน้ำ 20 ลิตร

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

อัตรา : อัตรา 20 มล.ต่อน้ำ 20 ลิตร


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ : มะละกอขยายพันธุ์ได้ 3 วิธีคือ 1.การเพาะเมล็ด 2.การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3.การตอน วิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือการขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดซึ่งมีวิธีการผลิตเมล็ดพันธุ์ ดังนี้คือ 1.เลือกพื้นที่ปลูกให้ห่างจากแปลงมะละกอพันธุ์อื่นอย่างน้อย 800 ม. เพื่อป้องกันพันธุ์ปน จากการผสมข้าม 2.ดูแลรักษาตามวิธีเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับมะละกอ (GAP มะละกอ) 3.คัดเลือกต้นสมบูรณ์เพศที่ตรงตามพันธุ์ ทำการช่วยผสมเกสรเพื่อเพิ่มปริมาณและความสมบูรณ์ของเมล็ด เพื่อให้ได้เมล็ดพันธุ์จำนวนมาก โดยใช้เกสรตัวผู้จากต้นสมบูรณ์เพศเท่านั้นนำมาผสมกับเกสรตัวเมียที่เกิดจากต้นสมบูรณ์เพศซึ่งจะทำให้ได้อัตราส่วนเพศของลูกที่เกิดเป็นต้นสมบูรณ์เพศมากที่สุดคือสมบูรณ์เพศ 2 ต้นและต้นตัวเมีย 1 ต้น

ข้อมูลอื่นๆ : ตามวิธีเกษตรดีที่เหมาะสมสำหรับมะละกอ (GAP มะละกอ) ดังนี้ 1.การใส่ปุ๋ย 1.1 ปุ๋ยเคมี - อายุ 1-6 เดือน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 100 กรัม/ต้น ทุกเดือน - อายุ 7-12 เดือน ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 200 กรัม/ต้น ทุกเดือน - อายุมากกว่า 12 เดือน ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับสูตร 13-13-21 อัตรา 200 กรัม/ต้น ใส่ทุก 2 เดือน 1.2 ปุ๋ยอินทรีย์ - อายุ 7-12 เดือน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 5-10 กก.ต่อต้น ใส่ครั้งเดียว - อายุมากกว่า 12 เดือน ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 10-15 กก.ต่อต้น แบ่งใส่ 2 ครั้ง ทุก 6 เดือน 2.การคัดเพศมะละกอ* - ปลูกมะละกอ 3 ต้นต่อหลุม สำหรับคัดเพศมะละกอ - หลังจากมะละกอออกดอก คัดต้นสมบูรณ์เพศ (กระเทย)** ไว้เพียง 1 ต้นต่อหลุม และตัดต้นที่ไม่ต้องการทิ้ง * การคัดเพศมะละกอ : ต้นมะละกอที่พบอยู่ทั่วไปมี 3 เพศได้แก่ 1.ต้นตัวผู้ : จะมีก้านดอกยาว ลักษณะดอกจะมีเกสรตัวผู้จำนวน 10 อัน ส่วนเกสรตัวเมียจะลดรูปทำให้ไม่สามารถติดผลได้แต่บางครั้งพบว่าเกสรตัวเมียมีการพัฒนาติดผลได้แต่ผลที่ได้มีขนาดเล็กก้านผลยาว, 2.ต้นตัวเมีย : ดอกตัวเมียจะไม่มีเกสรตัวผู้เลย มีเพียงเกสรตัวเมียเท่านั้น 3.** ต้นสมบูรณ์เพศ(กระเทย):ดอกจะมีทั้งเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ในดอกเดียวกัน

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข : 1.สภาพดินเป็นทรายจัด ขาดความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตมะละกอจะต่ำ สภาวะแล้งจัดหรือน้ำมากเกินไปในฤดูฝนมะละกอจะไม่สมบูรณ์ 2.ไม่ทนทานต่อโรค ใบด่างและโรคใบจุดวงแหวนมะละกอ

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :