สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : สมุนไพรและเครื่องเทศ

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : กระชายเหลือง

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ZINGIBERACEAE

สกุล (Genus) : Boesenbergia

ชนิด (specific epithet) : rotunda

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : (L.) Mansf.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : RB-003-59-003

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : กระชายเป็นพืชสมุนไพรที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ทุกพื้นที่ กลุ่มงานพัฒนาวิชาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร (2557) จัดกระชายอยู่ในประเภทของสมุนไพรที่มีค่าต่อการวิจัย สำคัญทางเศรษฐกิจ มีปริมาณการใช้อยู่ในลำดับใช้บ่อย และกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (2557) ให้กระชายเหลืองมีคะแนนความสำคัญจากหนึ่งร้อยอยู่ในอันดับรวมเท่ากับ 48 ขณะที่กระชายดำอยู่ในอันดับรวมเท่ากับ 63 มีคะแนนความต้องการจากต่างประเทศอันดับที่ 6 และ 8 ตามลำดับ จากสมุนไพร 247 ชนิด สถานการณ์การผลิต ปี 2556 แหล่งผลิตในเขต 1 ได้แก่ จังหวัดลพบุรี สระบุรี รวม 433 ไร่ จำนวน 133 ครัวเรือน ในเขต 2 ได้แก่ จังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี นครปฐม รวม 8,859 ไร่ จำนวน 2,127 ครัวเรือน และในเขต 8 ได้แก่ จังหวัดระนอง รวม 23 ไร่ จำนวน 24 ครัวเรือน และในปี 2557 พบว่า ทุกจังหวัดดังกล่าว ยกเว้นจังหวัดสระบุรี มีพื้นที่การปลูก และผลผลิตลดลง ตั้งแต่ 0 ถึง 100 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนั้นการผลิตมีข้อจำกัดขึ้นอยู่กับชนิดของดินประเภทร่วนทราย การเพิ่มผลผลิตต้องอาศัยการจัดการด้านทรัพยากรน้ำให้เหมาะสม มิฉะนั้นจะเกิดปัญหาโรคเน่า เพิ่มต้นทุน หรือ ผลผลิตต่ำไม่คุ้มทุน และที่สำคัญยังขาดแหล่งพันธุ์ หรือแหล่งรวบรวมพันธุ์ที่สามารถสนับสนุนความต้องการของเกษตรกรที่ใช้ผลิตพันธุ์เป็นจำนวนมากในแต่ละครั้ง หรือต้องการความหลากหลายเพื่อลดความเสี่ยงอันเนื่องจากความต้องการ (demand) และการตอบสนองการใช้ (supply) ไม่สมดุล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร (2560) รายงานสถานการณ์การผลิตกระชายในประเทศไทย ปี 2559 มีเนื้อที่ปลูก 11,839 ไร่ จำนวนครัวเรือน 2,994 ราย ผลผลิตรวม 11,229 ตัน ผลผลิตเฉลี่ย 1,823 กิโลกรัม/ไร่ จังหวัดที่มีการปลูกกระชายมีทั้งหมด 14 จังหวัด โดยมีจังหวัดที่ปลูกมากสุด ได้แก่ จังหวัดนครปฐม มีเนื้อที่ปลูก 7,474 ไร่ รองลงมาคือ จังหวัดลพบุรี ราชบุรี พิจิตร และกาญจนบุรี และพบว่าตั้งแต่ปี 2556-2561 เนื้อที่ปลูกและผลผลิตไม่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการผลิตมีข้อจำกัดขึ้นอยู่กับชนิดของดินประเภทร่วนทราย การเพิ่มผลผลิตต้องอาศัยการจัดการด้านทรัพยากรน้ำให้เหมาะสม ส่งผลให้เกิดปัญหาโรคเน่าทำให้เพิ่มต้นทุนการผลิต และราคาผลผลิตต่ำไม่คุ้มค่ากับการลงทุน และในปัจจุบันยังไม่มีการศึกษาสำรวจ รวบรวมพันธุ์กระชายเพื่อประเมินศักยภาพการผลิตของกระชายในแหล่งผลิตต่าง ๆ ในประเทศไทย

ไถแปร :2

อื่นๆ : ปรับพื้นที่ยกเป็นร่องสูง 25 เซนติเมตร ทำเป็นแปลงกว้าง 1.5 เมตร แต่ละแปลงห่างกัน 50 เซนติเมตร หลังตากทิ้งไว้แล้ว 7 วัน

วิธีปลูก : ต้นฤดูฝนปลูกกระชายเหลืองโดยใช้เหง้าที่มีข้อ 2-3 ข้อ ตรงหลุมที่ขุดลึก 10-15 เซนติเมตร มีปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมีผสมไว้แล้วบนแปลงที่เตรียมไว้แล้วให้มีระยะห่างระหว่างแถว 75 เซนติเมตร ระหว่างต้น 30 เซนติเมตร ปลูกโดยวางเหง้าลึกจากผิวหน้าดินประมาณ 5 เซนติเมตร เสร็จแล้วคลุมด้วยฟางหรือหญ้าป้องกันน้ำชะหน้าดินะ

อัตราปลูก : 350 กิโลกรัม ต่อไร่

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : เหง้าอายุ 7-9 เดือน

วันปลูก : 4/30/2019 12:00:00 AM

วันงอก : 5/15/2019 12:00:00 AM

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก : 10/31/2019 12:00:00 AM

การเก็บเกี่ยว : หลังฝนทิ้งช่วงหลายเดือน ใบเหี่ยวแห้งทั้งกอจะแก่เก็บเกี่ยวได้

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ : สารชีวภัณฑ์ Bacillus Subtilis

อัตรา : ความเข้มข้น 108-109 cfu / ml นาน 1 ชั่วโมง

วิธีการ : แช่เหง้าหัวก่อนปลูก 1 ชั่วโมง

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ : 6/30/2019 12:00:00 AM

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15

อัตรา : 25 กิโลกรัม ต่อ ไร่

โดยวิธี : หว่านเม็ดปุ๋ย

ครั้งที่ : 2

วันที่ : 8/1/2019 12:00:00 AM

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : ธาตุอาหารเสริมพวกกรดอะมิโน พร้อมปุ๋ย 0-0-50

อัตรา : ฉลากข้างขวด และ ปุ๋ย 5-10 กรัม ผสมน้ำให้พร้อมระบบการให้น้ำ

โดยวิธี : ละลายพร้อมระบบการให้น้ำ

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ : 1

วันที่ : 4/30/2019 12:00:00 AM

วิธี : สปริงเกลอ

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3

ครั้งที่ : 2

วันที่ : 6/30/2019 12:00:00 AM

วิธี : สปริงเกลอ

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 4

โรคพืช

วันที่ : 4/30/2019 12:00:00 AM

ชนิดสารเคมี :ปุ๋ยยูเรีย ผสมปูนขาว

อัตรา :อัตราส่วน 1 ต่อ 10

วันที่ : 7/30/2019 12:00:00 AM


แมลง ไร และศัตรูพืช

ครั้งที่ : 1

วันที่ : 7/1/2019 12:00:00 AM

อัตรา : อัตรา 20 มล.ต่อน้ำ 20 ลิตร


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมของกระชาย ชอบอากาศร้อนชื้น ดินร่วนปนทราย ไม่ชอบดินเหนียว และ ดินลูกรังปลูกในที่กลางแจ้ง การเตรียมดินปลูกกระชาย ไถพรวนหรือขุดดินเพื่อให้ดินร่วนซุย ถ้าดินระบายน้ำดี ไม่จำเป็นต้องยกร่อง กระชายสามารถขึ้นได้ในดินทุกชนิด โดยเป็นดินที่มีการระบายน้ำได้ดีไม่ท่วมขัง

ข้อมูลอื่นๆ : ใช้พันธุ์คัดเลือกเพิ่มผลผลิต ใช้ระบบน้ำที่เพียงพอต่อความต้องการทำให้ผลตอบแทนคุ้มทุน

ข้อมูลอื่นๆ : ไม่มี

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง : ผู้วิจัย เกษมศักดิ์ ผลากร นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สถาบันวิจัยพืชสวน พงษ์ศักดิ์ พลตรี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ สำนักคุ้มครองพันธุ์พืช พรรณผกา รัตนโกศล นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย อุทัยวรรณ ทรัพย์แก้ว นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย(ปัจจุบันชำนาญการ) บุญเรือนรัตน์ เรืองวิเศษ นักวิชาการเกษตรชำนาญการ สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ลัดดาวัลย์ อินทรสังข์ นักกีฏวิทยาชำนาญการพิเศษ สถาบันวิจัยพืชสวน ศรีสุดา โท้ทอง นักกีฏวิทยาชำนาญการพิเศษ สถาบันวิจัยพืชสวน จิดาภา สุภาผล นักวิชาการการเกษตรชำนาญการ สถาบันวิจัยพืชสวน(กลุ่มบริหารโครงการวิจัย) เพ็ญจันทร์ สุทธานุกูล นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย ไกรสิงห์ ชูดี นักวิชาการเกษตรชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย (ผอ.ศูนย์ฯ) ธนะเทพ พุ่มไพจิตร นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สถาบันวิจัยพืชสวน (ปัจจุบันชำนาญการ)

ฤดูปลูก-ปี : 2562

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย

จังหวัด : สุโขทัย

อำเภอ : อำเภอศรีสัชนาลัย

ตำบล : ท่าชัย

พื้นที่ลาดเอียง : 1

พิกัด X : 0

พิกัด Y : 0

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : RCB

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 6

จำนวนซ้ำ (Replication) : 6

จำนวนบล็อค (Block) : 1

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) : 210 ตารางเมตร

ขนาดความกว้างแปลงย่อย : 4.2 เมตร

ขนาดความยาวแปลงย่อย : 7.5 เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : 3.0 เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : 4.5 เมตร

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) : 75

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) : 30

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น : ไม่มี

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข : การปลูกในร่มทดสอบศักยภาพได้ไม่เต็มที่ เมื่อต้องการทดสอบร่วมกับระบบน้ำ

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา : ไม่มีข้อมูล

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) : ไม่มีข้อมูล

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา : ไม่มีข้อมูล

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด : ไม่มีข้อมูล

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก : อื่นๆ

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) : ไม่ระบุ

อินทรีวัตถุ (%) : ไม่ระบุ

ฟอสฟอรัส (mg/kg) : ไม่ระบุ

โพแทสเซียม (mg/kg) : ไม่ระบุ

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) : ไม่ระบุ

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) : ไม่ระบุ

Fe (mg/kg) : ไม่ระบุ

Mo (mg/kg) : ไม่ระบุ

Mg (mg/kg) : ไม่ระบุ

Zn (mg/kg) : ไม่ระบุ

Mn (mg/kg) : ไม่ระบุ

S (mg/kg) : ไม่ระบุ

B (mg/kg) : ไม่ระบุ

Cu (mg/kg) : ไม่ระบุ