สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : โกโก้

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : MALVACEAE

สกุล (Genus) : Theobroma

ชนิด (specific epithet) : cacao

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L. ExST

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : โกโก้ลูกผสมชุมพร 1

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : โกโก้ (Theobroma cacao L.) เป็นพืชที่มีความสำคัญชนิดหนึ่งของโลก ใช้ประโยชน์ในการบริโภค มีคุณค่าทางอาหารสูง อุดมไปด้วย แคลเซียม แมกนีเซียม โซเดียม สารฟลาโวนอยด์ (flavonoid) สารต้านอนุมูลอิสระโพลีฟีนอล สารธีโอโบรมีน (theobromine) มีความเชื่อมโยงโดยตรงต่อระบบหัวใจ ช่วยขยายหลอดเลือด ลดความดันโลหิต รวมทั้งช่วยลดระดับของคอเลสเตอรอลชนิดที่ไม่ดีที่เป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจได้ ยังมี theobroma oil หรือไขมันโกโก้ (cocoa butter) เป็นไขมันที่แยกออกเมื่อนำเมล็ดโกโก้มาคั่ว theobroma oil ใช้เป็นยาพื้นในการเตรียมยาเหน็บและเครื่องสำอาง นอกจากนี้มีการนำมาใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตช็อกโกแลตหวานและช็อกโกแลตนม (สมศักดิ์, 2532) อุตสาหกรรมลูกอมและลูกกวาด อุตสาหกรรมเครื่องดื่มรสช็อกโกแลต อุตสาหกรรมเบเกอรี่ อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยาสูบ อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง สถานการณ์ปัจจุบันของโกโก้ มีความต้องการใช้เมล็ดโกโก้ในระดับโลกเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากประเทศที่ผลิตโกโก้ซึ่งอยู่ในแถบแอฟริกา ส่วนใหญ่ประสบปัญหาโรคอีโบล่า ทำให้ไม่มีแรงงานในการเก็บเกี่ยวโกโก้ จึงขาดแคลนวัตถุดิบในการแปรรูปเป็นช็อกโกแลต ราคาเมล็ดโกโก้จึงขยับตัวสูงขึ้น สำหรับประเทศไทย การปิดตัวของโรงงานผลิตโกโก้ผงในปี 2559 ทำให้ความต้องการใช้เมล็ดโกโก้ลดลง ส่งผลให้การนำเข้าเมล็ดโกโก้ในปี 2559 ลดลงอย่างมากจาก 20,000 ตัน เหลือเพียง 200 กิโลกรัม จากรายงานของกรมศุลกากรปี 2560 จนถึงปัจจุบัน มีการนำเข้าเมล็ดโกโก้ประมาณ 40,000 ตันต่อปี เป็นมูลค่าประมาณ 6 พันล้านบาทต่อปี แต่มีการส่งออกเมล็ดโกโก้และผลิตภัณฑ์ในปี 2560 ถึงปัจจุบันเกือบ20,000 ตัน เป็นมูลค่าสูงกว่า1,000 ล้านบาท จึงมีจำเป็นต้องส่งเสริมการปลูกโกโก้ให้มากขึ้น พื้นที่ปลูกโกโก้ในประเทศไทยมีประมาณ 251 ไร่ โดยมีการปลูกขยายพื้นที่ปลูกมากขึ้นในภาคตะวันออก ได้แก่ จันทบุรี และจังหวัดทางภาคเหนือ สำหรับในภาคใต้มีการส่งเสริมให้ปลูกเป็นพืชแซมในสวนมะพร้าว ปัจจุบันสังคมให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพมากขึ้น และโกโก้มีสารอาหารที่มีประโยชน์มากมายดังที่กล่าวมาข้างต้น สามารถแปรรูปและเพิ่มมูลค่าได้สูง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นต้องทำการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตโกโก้เพื่อให้มีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น สามารถขยายสู่แหล่งปลูกใหม่ที่มีความเหมาะสมเพื่อเพิ่มพื้นที่ปลูกโกโก้เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศในอนาคต ส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้มากขึ้นและรองรับภาคอุตสาหกรรมให้สามารถพัฒนาไปด้วยกันได้อย่างยั่งยืน ในช่วงปี 2554-2558 ที่ผ่านมาสถาบันวิจัยพืชสวนและศูนย์วิจัยพืชสวนชุมพรได้ทำการทดสอบพันธุ์โกโก้ที่เหมาะสมสำหรับทำช็อกโกแลต พบว่ามีสายพันธุ์ที่มีความเหมาะสมสำหรับใช้ผลิตช็อกโกแลต 3-4 พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ ICS 6, ICS 40, ICS 95, UF 676 นอกเหนือจากพันธุ์รับรองที่ได้ออกไปแล้วในปี 2536 คือ โกโก้ลูกผสมชุมพร 1 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่มีความเหมาะสมในการทำโกโก้ผงและเนยโกโก้ งานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไป คือ การทดสอบพันธุ์ที่มีความเหมาะสมสำหรับผลิตช็อกโกแลตและการใช้องค์ความรู้ด้านเขตกรรม สรีรวิทยาของพืชมาปรับใช้ในการเพิ่มผลผลิตของโกโก้ให้เพิ่มขึ้น

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก : การปลูกโกโก้ทำได้ 2 ระบบ คือ 1. ปลูกเป็นพืชเดี่ยว การปลูกวิธีนี้ไม่นิยมปลูกเนื่องจากมีความยุ่งยากเพราะจ้ะองดูแลทั้งโกโก้และพืชร่มเงา ซึ่งในระยะแรกที่ปลูกโกโก้จำเป็นต้องสร้างร่มเงาให้โกโก้ก่อนแล้วจึงตัดร่มเงาเหล่านั้นออก 2. การปลูกเป็นพืชแซมในสวนมะพร้าวและไม้ผล - โกโก้เล็กหรือโกโก้ที่อยู่ในระยะก่อนให้ผลผลิต ต้องการแสงแดดประมาณ 30 % และต้องการมากขึ้นประมาณ 60-70 % เมื่อโกโก้ตกผลแล้ว

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :