สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : โกโก้

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : MALVACEAE

สกุล (Genus) : Theobroma

ชนิด (specific epithet) : cacao

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L. ExST

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : โกโก้ยูไอที 1 x เอ็นเอ 32 (UIT 1x Na32)

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สถานการณ์การผลิตโกโก้ สำหรับปริมาณผลผลิตโกโก้ แบ่งตามภูมิภาคนั้น อัฟริกา มีผลผลิต 75% รองลงมาเป็นอเมริกา และ เอเชีย และโอเชียเนีย มี 18% และ 7% ของผลผลิตโกโก้โลก ประเทศผู้ส่งออกโกโก้หลักของโลก ได้แก่ โกตดิวัวร์ กานา เอกวาดอร์ ไนจีเรีย แคเมอรูน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เอกวาดอร์มีศักยภาพในการผลิตโกโก้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นจากที่ในปี 2556/2557 ผลิตได้ 232,000 ตัน เพิ่มเป็น 280,000 ตัน การผลิตโกโก้ของกลุ่มประเทศอาเซียน ในปี พ.ศ. 2561/2562 ผลิตโกโก้ได้เป็นอันดับ 4 ของโลก หรือคิดเป็น 5% ของผลผลิตโกโก้ของโลก (ผลิตได้ 237,000 ตัน) โรงงานแปรรูปโกโก้ผงของกลุ่มประเทศอาเซียน ขยายตัว 17.9% ของผลผลิตโลก (ผลิตได้ 852,000 ตัน) ตลาด ช็อกโกแลตในอาเซียนโตขึ้น 5% สถานการณ์การส่งออกและนำเข้าโกโก้ของประเทศไทย การส่งออก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมามีปริมาณส่งออกเพิ่มขึ้นจาก 138 กิโลกรัม ในปี 2558 เป็น 925 ตัน ในปี 2562 ประเทศที่ไทยส่งออกมากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ อินเดีย มีสัดส่วนการส่งออกถึงร้อยละ 99 ของปริมาณทั้งหมดรองลงมา ได้แก่ ลาว และญี่ปุ่น ส่วนการส่งออกผลิตภัณฑ์โกโก้ของไทยในช่วง 5 ปี ที่ผ่าน ลดลงร้อยละ 11 โดยลดจาก 32,862 ตัน ในปี 2558 เหลือ 19,063 ตัน ในปี 2562 ประเทศที่ไทยส่งออกผลิตภัณฑ์โกโก้มากเป็นอันดับหนึ่ง ได้แก่ ญี่ปุ่น มีสัดส่วนการส่งออกร้อยละ 80 ของปริมาณทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ เมียนมาร์ มีสัดส่วนร้อยละ 5 และมาเลเซียร้อยละ 4 การนำเข้า ในช่วง 5 ปี (พ.ศ.2558-2562) ประเทศไทยนำเข้าเมล็ดโกโก้ ลดลงจาก 15,667 ตัน ในปี 2558 เหลือ 980 ตัน ในปี 2562 ในขณะที่การนำเข้าผลิตภัณฑ์โกโก้เพิ่มขึ้นร้อยละ 7 โดยเพิ่มจาก 32,718 ตัน ในปี 2558 เพิ่มเป็น44,278 ตัน ในปี 2562 โดยในปี 2562 โดยในปี 2562 ประเทศที่ไทยนำเข้าเมล็ดโกโก้จากประเทศคองโก มากเป็นอันดับหนึ่ง มีสัดส่วนนำเข้าถึงร้อยละ 82 ของปริมาณนำเข้าทั้งหมด รองลงมา ได้แก่ กินี ร้อยละ 10 ในขณะที่บริษัทแกลโกไทย จำกัด ผู้ผลิตช็อกโกแลต นาเข้าเมล็ดโกโก้จากประเทศฟิลิปปินส์เป็นหลัก และ นำเข้าผลิตภัณฑ์โกโก้ จากมาเลเซีย มากเป็นอันดับหนึ่ง มีสัดส่วนร้อยละ 49 และนำเข้าจากสิงคโปร์ มีสัดส่วนร้อยละ 12 และอินโดนีเซียร้อยละ 10 ตามลำดับ สถานการณ์การผลิตในประเทศไทย เนื้อที่ยืนต้นเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.22 ต่อปี เพิ่มจาก 320 ไร่ ในปี 2558 เป็น 1,431 ไร่ ใน ปี 2562 ส่วนเนื้อที่เก็บเกี่ยวลดลงจาก 264 ไร่ ในปี 2558เหลือ 89 ไร่ ในปี 2562 หรือลดลงร้อยละ 19.54 เนื่องจากหลังจากปี 2558 เกษตรกรตัดโค่นต้นโกโก้เพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจอื่นที่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจดีกว่า ด้วยขณะนั้นโกโก้ไม่มีตลาดที่ชัดเจน และช่วงปี 2561-62 มีเกษตรกรปลูกโกโก้ชุดใหม่เพิ่มขึ้นในภูมิภาคอื่นที่มิใช่ภาคใต้ซึ่งขณะนี้ยังไม่ให้ผลผลิต โดยแหล่งปลูกโกโก้ส่วนใหญ่อยู่ในภาคเหนือคิดเป็นร้อยละ 43 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งประเทศโดยมีจังหวัดที่ปลูกมาก ได้แก่ เชียงราย พิษณุโลก เชียงใหม่ ตาก รองลงมา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 21 ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย ขอนแก่น นครราชสีมา ภาคตะวันออกร้อยละ 15 ส่วนใหญ่ปลูกที่ จันทบุรี ตราด ภาคใต้ ร้อยละ 12 ปลูกที่ สุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช และภาคกลาง ร้อยละ 6 ปลูกที่ประจวบคีรีขันธ์ สุโขทัย สิงห์บุรี ลพบุรี เป็นต้น ผลผลิตเมล็ดโกโก้แห้งของไทยลดลงจากปี 2558 ที่ผลิตได้ 128.04 ตัน เหลือ 28.04 ตัน ในปี 2560 และเพิ่มเป็น 125.12 ตัน ในปี 2562 ทำให้ภาพรวมผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.77 ต่อปี มีการส่งเสริมการปลูกโกโก้ในรูปแบบแปลงใหญ่ 202 ไร่ สมาชิกแปลงใหญ่ 52 ราย พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ I.M.1 ให้ผลผลิตสด 5,100 กิโลกรัมต่อปี มีต้นทุนการผลิต 3,500 บาทต่อไร่ต่อปี มีการทำเกษตรพันธสัญญากับบริษัท เอเชียโกโก้ (ไทยแลนด์) จำกัด ประกันราคาผลสุกไม่ต่อกว่า 5 บาทต่อกิโลกรัม โดยผลผลิตร้อยละ 80 ขายให้บริษัทฯ ร้อยละ 20 ขายให้กลุ่ม แปรรูปผลิตภัณฑ์ มีหน่วยงานที่ให้การส่งเสริมการปลูกโกโก้ ได้แก่ สำนักงานเกษตรจังหวัดหรือสำนักงานเกษตรอำเภอ สถานีพัฒนาที่ดินลาปาง สานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรและสานักงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ และภาคเอกชนได้แก่ บริษัท เอเชียโกโก้ (ไทยแลนด์) จำกัด สถานการณ์การตลาดโกโก้ในประเทศ ซื้อในรูปของผลสดราคาประกันขั้นต่ำกิโลกรัมละ 5 บาท แต่อาจได้ถึง 8-10 บาท สำ ห รับ เ ก ษ ต ร ก ร ที่ ไม่ได้ทำสัญญาซื้อขายกับบริษัทจะขายผลสดหรือเมล็ดแห้ง หรือผู้ประกอบการรายย่อยบางราย ได้แปรรูปจากเมล็ดโกโก้ แห้ง เป็นผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต เป็นผลิตภัณฑ์โอทอป ราคาที่เกษตรกรขายได้ เมล็ดโกโก้แห้ง 50-80 บาทต่อกิโลกรัม ราคาผลผลิตสดกิโลกรัมละ 5-10 บาท เมล็ดสดกิโลกรัมละ 17-20 บาท ในขณะที่ผู้ประกอบการ รับซื้อเมล็ดโกโก้แห้ง 3-4 ดอลลาร์ต่อกิโลกรัม ความต้องการใช้ โดยความต้องการบริโภคช็อกโกแลตคนไทยอยู่ที่ 120 กรัมต่อคนต่อปี เมื่อเทียบกับเบลเยียม 8 กิโลกรัมต่อคนต่อปี ซึ่งถือว่าตลาดโกโก้ในไทย มีโอกาสขยายตัว เพราะปัจจุบันโรงงานส่วนใหญ่ต้องนาเข้าวัตถุดิบ จากต่างประเทศ สถานการณ์โกโก้ประเทศคู่ค้า ในกลุ่มประเทศอาเซียน ประเทศอินโดนีเซียมีพื้นที่ ปลูกโกโก้มากที่สุด รัฐบาลอินโดนีเซียจึงใช้ มาตรการด้านภาษีมาส่งเสริมให้มีการแปรรูปเพิ่มมูลค่าแทนที่ จะส่งออกเมล็ดโกโก้เป็นวัตถุดิบ ส่วนประเทศมาเลเซียมีโรงงานแปรรูปและผลิตโกโก้ผงซึ่งได้รับเทคโนโลยีจากประเทศ อังกฤษ แต่ละปีมีการผลิตโกโก้ผงส่งออกได้จำนวนมาก และปัจจุบันรัฐบาลมาเลเซียส่งเสริม SME ให้มีการผลิต Single origin chocolate เพื่อส่งออกในรูปแบบผลิตภัณฑ์ช็อกโกแลต แบบต่าง ๆ

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก : การปลูกโกโก้ทำได้ 2 ระบบ คือ 1. ปลูกเป็นพืชเดี่ยว การปลูกวิธีนี้ไม่นิยมปลูกเนื่องจากมีความยุ่งยากเพราะจ้ะองดูแลทั้งโกโก้และพืชร่มเงา ซึ่งในระยะแรกที่ปลูกโกโก้จำเป็นต้องสร้างร่มเงาให้โกโก้ก่อนแล้วจึงตัดร่มเงาเหล่านั้นออก 2. การปลูกเป็นพืชแซมในสวนมะพร้าวและไม้ผล - โกโก้เล็กหรือโกโก้ที่อยู่ในระยะก่อนให้ผลผลิต ต้องการแสงแดดประมาณ 30 % และต้องการมากขึ้นประมาณ 60-70 % เมื่อโกโก้ตกผลแล้ว

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :