สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชผัก

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มันฝรั่ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : SOLANACEAE

สกุล (Genus) : Solanum

ชนิด (specific epithet) : wrightii

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Benth.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : มันฝรั่ง (Solanum tuberosum L.) เป็นพืชอาหารที่ปลูกได้เขตอบอุ่น-หนาว ซึ่งมีความสำคัญอยู่ในอันดับที่สี่ของโลกรองจาก ข้าว ข้าวสาลี และข้าวโพด มันฝรั่งไม่ใช่พืชอาหารหลักของประเทศไทย แต่มีความสำคัญในด้านเป็นพืชอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าหลายพันล้านบาท จัดเป็นพืชที่ทำรายได้สูงให้กับเกษตรกรในเขตภาคเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ คือ มีรายได้ต่อไร่เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 15,000-25,000 บาท จังหวัดที่มีการปลูกมันฝรั่งมากที่สุด คือ จ. เชียงใหม่ รองลงมาได้แก่ จ. ตาก ลำพูน เชียงราย พะเยา ลำปาง เพชรบูรณ์ และบางพื้นที่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จ. หนองคาย สกลนคร เลย และนครพนม พื้นที่เพาะปลูกมันฝรั่งในปี 2560มีพื้นที่ 37,858ไร่ เป็นมันฝรั่งพันธุ์โรงงาน 35,482ไร่ พันธุ์บริโภคสด 2,376ไร่ ผลผลิตรวม 107,103ตัน เป็นมันฝรั่งพันธุ์โรงงาน 101,080 ตัน พันธุ์บริโภค 6,023 ตัน การปลูกมันฝรั่งมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามสภาวะเศรษฐกิจที่ขยายตัว (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2560) โดยมีความต้องการเพื่อใช้ในการแปรรูปตลอดปีประมาณ 12,500 ตันต่อเดือน หรือ 150,000 ตันต่อปีแต่เกษตรกรผลิตได้เพียง 100,000 ตันต่อปี ผลผลิตไม่เพียงพอต่อการแปรรูปทำให้ผู้ประกอบการต้องขอนำเข้ามันฝรั่งสดจากต่างประเทศ ปีละ 34,000-35,000 ตัน เพื่อให้เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค คิดเป็นมูลค่าหลายร้อยล้านบาท (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557; อรทัย, 2557; ชวาลา, 2559) เนื่องจากมีการขยายตัวของพื้นที่เพาะปลูก จึงทำให้มีการนำเข้าหัวพันธุ์มันฝรั่งจากประเทศออสเตรเลีย สก๊อตแลนด์ แคนนาดา เนเธอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา มาปลูกมากขึ้นทุกปี (ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่, 2557) การปลูกมันฝรั่งในประเทศไทยอยู่ภายใต้ระบบสัญญาข้อตกลงการผลิตประมาณร้อยละ 90 จึงมีการประกันราคารับซื้อที่แน่นอน (Contract Farming) ทำให้ระบบการผลิตมีความมั่นคงทั้งในส่วนของเกษตรกรผู้ปลูกและภาคเอกชนเพื่อขจัดปัญหาความไม่แน่นอนของรายได้ของเกษตรกรและปริมาณของสินค้าล้นตลาด ทำให้ทุกภาคส่วนมีความมั่นใจที่จะทำการพัฒนาด้านเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต และขยายการลงทุน ธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์มันฝรั่งแปรรูปของประเทศ มีมูลค่ามากกว่า 9,000 ล้านบาทต่อปี และธุรกิจมันฝรั่งแปรรูปได้มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว จากมูลค่า 200 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเป็น 9,000 ล้าน ในระยะเวลา 15 ปี ที่ผ่านมา โดยการส่งเสริมและลงทุนจากภาคเอกชน ซึ่งมี 3 บริษัท ได้แก่ บริษัทเป๊ปซี่โคล่า (ไทย) เทรดดิ้ง จำกัด บริษัทเบอร์ลี่ยุคเกอร์ฟู้ด จำกัด และบริษัท ยูนิแชมป์ จำกัด (สมบัติ, 2556) จึงทำให้เกษตรกร/บริษัทผู้ผลิตมันฝรั่งแปรรูป มีความต้องการหัวพันธุ์มันฝรั่งเพื่อนำไปผลิตเป็นผลผลิตส่งเข้าโรงงานแปรรูป ถึงแม้ว่ากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้สนับสนุนงบประมาณให้กรมวิชาการเกษตรในการผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งทดแทนการนำเข้า โดยดำเนินการผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งหลัก (pre-basic seed production หรือ G0) ปีละ 500,000 หัว เพื่อนำไปปลูกขยายพันธุ์เป็นหัวพันธุ์ขยาย (basic seed production หรือ G1) ได้ปีละ 50 ตัน สำหรับจำหน่ายให้เกษตรกรนำไปผลิตเป็นหัวพันธุ์รับรอง (certified seed หรือ G2-G3) ต่อไป(ศูนย์วิจัยเกษตรหลวงเชียงใหม่, 2557) แต่อย่างไรก็ตามไม่สามารถรองรับความต้องการของเกษตรกร และผู้ประกอบการแปรรูปได้ ประกอบกับประเทศไทยมีปัญหาในการผลิตหลายด้าน เช่น ผลผลิตที่ได้ต่อไร่ต่ำ ประสิทธิภาพในการผลิตที่เกิดจากปัญหาโรคและแมลงศัตรูในพื้นที่การผลิต หัวพันธุ์ที่มีคุณภาพมีไม่เพียงพอต่อการขยายพื้นที่ปลูก ต้นทุนการผลิตสูงเนื่องจากความเสี่ยงที่เกิดจากสภาพอากาศและโรคแมลง ในขณะเดียวกันโรงงานแปรรูปมีการขยายกำลังผลิต ซึ่งต้องการวัตถุดิบทั้งในฤดูฝนและฤดูแล้ง แต่ผลผลิตที่ปลูกได้ในประเทศนั้นไม่เพียงพอกับความต้องการของโรงงาน (สถาบันวิจัยพืชสวน, 2559)จึงมีการร้องขอจากเกษตรกร สหกรณ์ผู้ปลูกมันฝรั่ง และบริษัทให้เพิ่มปริมาณการผลิตหัวพันธุ์มันฝรั่งให้เพียงพอกับความต้องการ และเพื่อลดการนำเข้าจากต่างประเทศ รวมถึงการปรับปรุงพันธุ์ใหม่ๆ ให้มีความต้านทานต่อการเข้าทำลายของโรคใบไหม้ โรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โรคไวรัส และโรคไส้เดือนฝอย ประกอบกับการขาดเทคโนโลยีด้านการผลิตมันฝรั่งที่มีคุณภาพ ได้แก่ การปรับปรุงพันธุ์ การจัดการดินปุ๋ย ระบบน้ำ การควบคุมวัชพืชในแปลง การควบคุมการระบาดของโรคแมลงศัตรูพืช การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว และการเก็บรักษา เป็นต้น

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :