ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : กล้วยหอมทอง
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : MUSACEAE
สกุล (Genus) : Musa
ชนิด (specific epithet) : spp. (AAA Group)
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : ไม่ระบุ
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ
พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : กล้วยที่ผลิตในประเทศไทย เพื่อเป็นการค้ามีอยู่ 3 ชนิด คือ กล้วยไข่ กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า การผลิตกล้วยหอม ปี 2552-2557 พื้นที่ให้ผลผลิตกล้วยหอมอยู่ระหว่าง 4,501-206,076 ไร่ ผลผลิตอยู่ระหว่าง 17,548-214,213 ตัน ในปี 2557 พื้นที่ให้ผลผลิตรวมทั้งประเทศ 33,330 ไร่ ผลผลิตรวมทั้งประเทศ 214,213 ตัน เมื่อ เทียบกับปี 2556 พื้นที่ให้ผลผลิตลดลงร้อยละ 83.25 และผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.36 การส่งออก กล้วยสด ปี 2552-2556 ปริมาณการส่งออกอยู่ระหว่าง 21,904-24,867 ตัน มูลค่าอยู่ระหว่าง 209-999 ล้านบาท ในปี 2556 ปริมาณการส่งออก 22,570 ตัน มูลค่าการส่งออก 265 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2555 ปริมาณการ ส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.04 และมีมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.21
ไถแปร :2 ครั้ง
อื่นๆ : เตรียมพื้นที่ปลูกแบบแปลงใหญ่ไม่ยกร่อง ไถเตรียมพื้นที่ปลูกเพื่อปราบวัชพืชในแปลง ตากดินไว้ 5-7 วัน
วิธีปลูก : ปลูกในหลุมขนาด 20-30 เซนติเมตร x 20-30 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุยอินทรีย์ประมาณ 1-2 ลิตร/หลุม นำหน่อกล้วยที่ตัดรากออกหมดแล้วลงปลูกในหลุมปลูก ลึกจากปากหลุมประมาณ 1 คืบ(20 เซนติเมตร หรือ 8 นิ้ว) กลบดินแล้วเหยียบเบา ๆ รอบ ๆ โคนต้น แล้วรดน้ำตามหลังจากปลูก
อัตราปลูก : 177 หน่อ - 256 หน่อ ต่อ ไร่ ที่ ระยะปลูก 2.5 x 2.5 เมตร ถึง 3 x 3 เมตร
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : กล้วยหอมทองพันธุ์ที่ผ่านการฉายรังสี
วันปลูก : 4/20/2021 12:00:00 AM
วันงอก : 4/20/2021 12:00:00 AM
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม : 5/30/2021 12:00:00 AM
วันที่ออกดอก : 12/1/2021 12:00:00 AM
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก : 3/1/2021 12:00:00 AM
การเก็บเกี่ยว : จะเก็บเกี่ยวกล้วยระยะใดนั้น ขึ้นอยู่กับระยะเวลาในการขนส่งไปจำหน่ายด้วยหากต้องการขนส่งไปไกลขายไกล ๆ อาจต้องตัดกล้วยเมื่อมีความแก่ประมาณ 75 เปอร์เซ็นต์ หรือมากกว่าเล็กน้อย การดูลักษณะความแก่อ่อนของกล้วยอาจดูจากลักษณะผล เช่น ดูขาดลูกกล้วย เหลี่ยมกล้วย หรือใช้วิธีการนับอายุจากวันแทงปลีหรือวันตัดปลี เช่นกล้วยไข่เก็บเกี่ยวเมื่ออายุ 55-60 วัน หลังการแทงปลี กล้วยน้ำว้าประมาณ 90-100 วัน หลังการแทงปลี เป็นต้น
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ : ฟิโปรนิล(Fipronil) 5%SC
อัตรา : 10 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร
วิธีการ : แช่เหง้าหน่อกล้วยก่อนปลูก และถ้าสำรวจพบด้วงงวงกล้วย ใช้ราดรอบโคนต้น
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 4/30/2021 12:00:00 AM
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15
อัตรา : 250 กรัม ต่อ ต้น
โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 7/1/2021 12:00:00 AM
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15
อัตรา : 250 กรัม ต่อ ต้น
โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม
ครั้งที่ : 3
วันที่ : 10/1/2021 12:00:00 AM
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15
อัตรา : 250 กรัม ต่อ ต้น
โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม
ครั้งที่ : 4
วันที่ : 12/1/2021 12:00:00 AM
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 13-13-21
อัตรา : 250 กรัม ต่อ ต้น
โดยวิธี : หว่าน แล้วรดน้ำให้ชุ่ม
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 4/20/2021 12:00:00 AM
วิธี : บัวรด
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 4/25/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 3
วันที่ : 4/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 4
วันที่ : 5/5/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 5
วันที่ : 5/10/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 6
วันที่ : 5/20/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 7
วันที่ : 5/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 8
วันที่ : 6/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 9
วันที่ : 7/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 10
วันที่ : 8/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 11
วันที่ : 11/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
ครั้งที่ : 12
วันที่ : 12/30/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
โรคพืช
วันที่ : 4/30/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :ปูนขาว
อัตรา :4-5 เมตริกตัน (metric ton) ต่อไร่
วันที่ : 5/30/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :บอร์โดมิกเจอร์ (2-3-40) หรือ คอปเปอร์อ๊ออกซี่คลอไรด์
อัตรา :100 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
วันที่ : 7/1/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :คาร์เบนดาซิม 50% SC หรือ โพรคลอราซ 50% WP หรือ ทีบูโคนาโซล 43% SC หรือ ไดฟีโนโคนาโซล 25% EC หรือ แมนโคเซบ80% WP
อัตรา :แบบน้ำ อัตรา 30 มม./น้ำ 20 ลิตร แบบผง อัตรา30 กรัม/น้ำ 20 ลิตร
วันที่ : 8/1/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :แมนโคเซบ 80% WP
อัตรา :อัตรา 30 กรัม / น้ำ 20ลิตร
แมลง ไร และศัตรูพืช
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 5/1/2021 12:00:00 AM
อัตรา :คลอร์ไพริฟอส อัตรา 40 มล./น้ำ 20 ลิตร หรือ ฟิโพรนิล อัตรา 10 มล./ น้ำ 20 ลิตร
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 6/1/2021 12:00:00 AM
อัตรา :คลอร์ไพริฟอส อัตรา 40 มล./น้ำ 20 ลิตร หรือ ฟิโพรนิล อัตรา 10มล./ น้ำ 20 ลิตร
ครั้งที่ : 3
วันที่ : 12/1/2021 12:00:00 AM
อัตรา :คลอร์ไพริฟอส อัตรา 40 มม./น้ำ 20 ลิตร หรือ ฟิโพรนิล อัตรา 10มม./ น้ำ 20 ลิตร
ครั้งที่ : 4
วันที่ : 1/1/2022 12:00:00 AM
อัตรา : อัตรา 40 มล.ต่อน้ำ 20 ลิตร
ครั้งที่ : 5
วันที่ : 12/14/2021 12:00:00 AM
อัตรา :2 กรัม / น้ำ 20 ลิตร
วัชพืช
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 5/30/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :ไมใช้สาร ใช้การไถกลบ
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : เดือน/ปี อุณหภูมิเฉลี่ย ความชื้นสัมพทธ์เฉลี่ย ปริมาณน้ำฝน วันฝนตก ม.ค. 61 20.52 82.94 19.10 2 ก.พ. 61 2.2 3.3 4.4 1 มี.ค. 61 2.2 3.3 4.4 1 เม.ย. 61 2.2 3.3 4.4 1 พ.ค. 61 2.2 3.3 4.4 1 มิ.ย. 61 2.2 3.3 4.4 1 ก.ค. 61 2.2 3.3 4.4 1 ส.ค. 61 2.2 3.3 4.4 1 ก.ย. 61 2.2 3.3 4.4 1 ต. ค. 61 2.2 3.3 4.4 1 พ.ย. 61 2.2 3.3 4.4 1 ธ.ค. 61 2.2 3.3 4.4 1
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ : กล้วยหอมทอง มีลำต้น สูง 2-3 เมตร เมื่อออกปลีจนหวีกล้วยมีดอกบานจนหมดทั้งเครือให้ค้ำที่ระหว่างซอกใบกับก้านเครือกล้วยด้วยไม้ไผ่รวกที่มีความยาวมากกว่า 2-3 เมตร ปักโคนไผ่ลงดินแนบลำต้นกล้วยให้แข็งแรง แล้วผูกมัดลำไผ่กับลำต้นกล้วยไม่ให้หลุดออกจากกัน แบบพอแน่น ไม่รัดจนเป็นรอยลึกมาก เพื่อไม่ให้ลำต้นกล้วยเป็นแผล มัดไว้จนถึงวันเก็บเกี่ยว
ข้อมูลอื่นๆ : การบ่ม กล้วยหากปล่อยไว้คาต้น หรือคาเครือจะสุกได้ แต่การสุกตามธรรมชาติจะได้กล้วยที่สุกไม่สม่ำเสมอ แม้จะใช้เวลานาน ดังนั้นจุดประสงค์ของการบ่มก็คือ ต้องการทำให้กล้วยสุกสม่ำเสมอในปริมาณมากและในเวลาอันรวดเร็ว ทั้งนี้เพื่อให้เพียงพอต่อการบริโภคหรือการวางขายในตลาด การบ่มจะทำทั้งเครือหรือเป็นหวีก็ได้ แต่ถ้าบ่มเป็นหวีจะต้องตัดแต่งหวี และใช้สารกำจัดเชื้อรา ไธอะเบนดาโซล (Thiabendazole) ความเข้มข้น 12.5 - 15 กรัม ต่อน้ำ 10 ลิตร พ่นขั้วผล แล้วผึ่งให้แห้งก่อนนำไปบ่ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง : การเปรียบเทียบพันธุ์กล้วยหอมทองที่ผ่านการฉายรังสี (นางจิดาภา สุภาผล )
ฤดูปลูก-ปี : 2561-2562
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย
จังหวัด : สุโขทัย
อำเภอ : อำเภอศรีสัชนาลัย
ตำบล : ท่าชัย
พื้นที่ลาดเอียง : 4
พิกัด X : 0
พิกัด Y : 0
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : RCB
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 10
จำนวนซ้ำ (Replication) : 10
จำนวนบล็อค (Block) : 1
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) : 675 ตารางเมตร
ขนาดความกว้างแปลงย่อย : เมตร
ขนาดความยาวแปลงย่อย : เมตร
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) : 300
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) : 250
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น : มีการ์ดโรว์
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข : บางพื้นที่ขาดน้ำ
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :