สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะนาว

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : RUTACEAE

สกุล (Genus) : Citrus

ชนิด (specific epithet) : aurantifolia

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : (Christm. & Panz.) Swingle

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : แป้นพิจิตร

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : มะนาวเป็นพืชสกุลส้ม (Citrus sp.) ที่มีความสำคัญอีกชนิดหนึ่ง นิยมใช้ในการประกอบอาหารเนื่องจากมีความจำเพาะของรสชาติและกลิ่นหอมของน้ำคั้น ในปี พ.ศ. 2555 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกมะนาว 94,275 ไร่ เป็นพื้นที่ที่ให้ผลผลิตแล้ว 90,709 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 96.2 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด ผลผลิตรวม 121,384 ตัน มูลค่าผลผลิต 6,445 ล้านบาท (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556) แหล่งปลูกที่สำคัญ ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี, สมุทรสาคร, ราชบุรี, พิจิตร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช,กำแพงเพชร, ปราจีนบุรี, สุโขทัย และนครปฐม พันธุ์ที่นิยมปลูก คือ พันธุ์แป้น คิดเป็น 74.64% ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด รองมา คือ พันธุ์ไข่ คิดเป็น 3.76% ของพื้นที่ปลูกทั้งหมด และพันธุ์อื่นๆ เช่น มะนาวพวง, มะนาวหนัง และ มะนาวตาฮิติ ฯลฯ (เปรมและคณะ, 2556) ปัญหาที่สำคัญของเกษตรกรผู้ปลูกมะนาว คือ การระบาดของโรคแคงเกอร์ ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas axonopodis pv. citri (Syn. Xanthomonas campestris pv. citri) โดยเชื้อสาเหตุของโรคแคงเกอร์ที่พบในประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่ม Canker A หรือ Asiatic canker (ณัฎฐิมา, 2551) โดยมะนาวพื้นเมืองและมะนาวแป้น (Citrus aurantifolia Swingle) เป็นพันธุ์ที่มีความอ่อนแอต่อโรคแคงเกอร์สูง พบการระบาดอย่างรุนแรงในช่วงฤดูฝนซึ่งอากาศมีความชื้นสูง และมีฝนตกติดต่อกัน เชื้อสามารถเข้าทำลายได้ทุกส่วนของพืชทั้งใบ กิ่ง ลำต้น และผลมะนาว ทำให้ต้นทรุดโทรม ใบร่วง ผลผลิตลดลง และไม่มีคุณภาพ (อำไพวรรณและคณะ, 2527) เกษตรกรจำเป็นต้องใช้สารป้องกันและกำจัดโรคพืช ในกลุ่มสารประกอบทองแดง และยาปฏิชีวนะในการควบคุมและป้องกันกำจัดโรคอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับสารดังกล่าวถูกชะล้างโดยน้ำฝนได้ง่าย ทำให้เกษตรกรมีต้นทุนในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น และมีสารตกค้างในผลผลิตเป็นอันตรายต่อตัวเกษตรกรและผู้บริโภค ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพิจิตรได้ดำเนินการรวบรวมพันธุ์มะนาวพันธุ์ต่างๆ ปี พ.ศ.2535-2539 พบว่า มะนาวที่รวบรวมพันธุ์ไว้นั้นมีระดับความทนทานต่อโรคแคงเกอร์แตกต่างกันไป โดยมะนาวที่มีความอ่อนแอต่อโรคมากคือ มะนาวในกลุ่มมะนาวพื้นเมืองของไทย Citrus aurantifolia Swing. เช่น มะนาวไข่ มะนาวแป้น และมะนาวแม่ไก่ไข่ดก ส่วนมะนาวที่มีความทนทานต่อโรคแคงเกอร์ คือ มะนาวน้ำหอม ตาฮิติ และมะนาวหนังคันธุลี ดังนั้นจึงได้ดำเนินการปรับปรุงพันธุ์มะนาวโดยใช้มะนาวแป้นรำไพเป็นแม่พันธุ์ผสมกับมะนาวน้ำหอม มะนาวหนังคันธุลี และมะนาวตาฮิติ จนได้มะนาวพันธุ์พิจิตร1 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่มีการเจริญเติบโตดี ทนทานต่อโรคแคงเกอร์ ผลขนาดใหญ่ ทรงผลแป้น ปริมาณน้ำคั้นสูง กลิ่นหอม และให้ผลผลิตสูง (ณรงค์และคณะ, 2553) แต่มะนาวพันธุ์นี้มีเปลือกหนากว่าพันธุ์แป้นรำไพและมีจำนวนเมล็ดต่อผลค่อนข้างมาก จึงได้ดำเนินการรวบรวมพันธุ์มะนาวและปรับปรุงพันธุ์ด้วยวิธีการผสมพันธุ์และชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์โดยการฉายรังสีเพื่อให้มีปริมาณเมล็ดลดน้อยลง ระหว่างปี พ.ศ.2554-2556 สามารถคัดเลือกพันธุ์มะนาวลูกผสมที่ทนทานต่อโรคแคงเกอร์ ทรงผลแป้น ปริมาณน้ำคั้นสูง กลิ่นหอม และให้ผลผลิตสูงได้จำนวน 13 พันธุ์ และมะนาวพันธุ์พิจิตร1 ที่มีเมล็ดน้อยจำนวน 24 สายต้น ระหว่างปี 2557 – 2561 ได้นำสายต้นมะนาวลูกผสมจำนวน 13 พันธุ์ นำมาปลูกเปรียบเทียบกับพันธุ์มะนาวแป้นรำไพ ซึ่งได้ลักษณะพันธุ์ตรงตามต้องการจำนวน 2 สายต้น คือ พจ. 2-7, พจ.2-60 และ ได้นำสายต้นมะนาวพิจิตร 1 ที่มีเมล็ดน้อย นำมาปลูกเปรียบเทียบกับพันธุ์มะนาวมะนาวพิจิตร 1 ซึ่งมีลักษณะพันธุ์ตรงตามความต้องการ จำนวน 2 สายต้น คือ พจ.1-07-01-4 ,พจ. 1-02-07-2 และยังได้พัฒนาคัดเลือกเปรียบเทียบพันธุ์มะนาวแป้นทวายที่ให้ผลผลิตสูง จำนวน 2 สายต้น ดังนั้นจึงจำเป็นต้องดำเนินการศึกษาลักษณะทางการเกษตรที่สำคัญของมะนาวพันธุ์ต่างๆ ดำเนินการทดสอบพันธุ์มะนาวที่คัดเลือกได้จากการผสมพันธุ์ จากการชักนำให้เกิดการกลายพันธุ์โดยการฉายรังสี และทดสอบมะนาวแป้นทวาย เพื่อให้ได้พันธุ์มะนาวที่มีการเจริญเติบโตดี ทนทานต่อโรคแคงเกอร์ ผลผลิตสูงและคุณภาพดี ตรงตามความต้องการของตลาด

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :