สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : สมุนไพรและเครื่องเทศ

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : กระเทียม

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : AMARYLLIDACEAE

สกุล (Genus) : Allium

ชนิด (specific epithet) : sativum

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สถานการณ์กระเทียม กระเทียม ชื่อสามัญ Garlic ผู้บริโภคนิยมนำกระเทียมมาบริโภคกระเทียมสดเพราะ มีกลิ่นฉุนปรุงอาหารเพื่อให้ได้รสชาติอร่อยและได้นำกระเทียมมาทาแคปซูลหรือกระเทียมอัดเม็ด เป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลายทั้งในประเทศและต่างประเทศ เกษตรกรไทยนิยมปลูกกระเทียมในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่หนาวเย็น ทำให้การเพาะปลูกกระเทียมได้ผลดี กระเทียมสามารถเพาะปลูกได้เกือบทุกภาคของประเทศแต่เหมาะที่จะปลูกในแปลงที่เป็นดินร่วน หรือระบายน้ำได้ดีและมีอุณหภูมิอากาศค่อนข้างหนาวเย็นเป็นระยะเวลายาวนานหลายเดือนดังนั้นบริเวณเพาะปลูก แหล่งกระเทียมที่สำคัญของไทย ส่วนใหญ่จึงอยู่ทางภาคเหนือตอนบนที่สำคัญ ได้แก่จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน เชียงราย แม่ฮ่องสอน พะเยา น่าน แพร่ ลำปาง และอุตรดิตถ์ นอกจากนี้มีเพาะปลูกข้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวัดศรีสะเกษ และบุรีรัมย์ การเพาะปลูกกระเทียมส่วนใหญ่ จะปลูก 2 ช่วง คือ 1) เพาะปลูกช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน และเก็บเกี่ยวเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ อายุประมาณ 75-90 วัน กระเทียมรุ่นนี้เรียกว่ากระเทียมดอง หรือกระเทียมเบา นิยมใช้ทำกระเทียมดอง ไม่สามารถเก็บไว้ได้นานเพราะฝ่อเร็ว 2) เพาะปลูกช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม หลังการเก็บเกี่ยวข้าวและเก็บเกี่ยวเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน อายุประมาณ 90-120 วัน เรียกว่า กระเทียมปี ใช้ทำกระเทียมแห้งเพราะสามารถเก็บไว้ได้นาน พันธุ์กระเทียมที่เกษตรกรนิยมปลูก มีดังนี้ ภาคเหนือนิยมปลูกพันธุ์พื้นเมืองเชียงใหม่ เชียงราย และพม่า ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมปลูกพันธุ์ พื้นเมืองศรีสะเกษ และภาคกลางนิยมปลูก พันธุ์บางช้าง และพันธุ์จีนหรือไต้หวัน พันธุ์ที่ปลูกในบ้านเรา สามารถแบ่งได้ตามอายุการแก่เก็บเกี่ยวได้ ดังนี้ 1. พันธุ์เบา หรือพันธุ์ขาวเมือง ลักษณะใบแหลม ลำต้นแข็ง กลีบเท่าหัวแม่มือ กลีบและหัวสีขาว มีกลิ่นฉุนและรสจัด อายุแก่เก็บเกี่ยวประมาณ 75-90 วัน เช่น พันธุ์พื้นเมืองศรีสะเกษ เป็นต้น 2. พันธุ์กลาง ลักษณะใบเล็กและยาว ลาต้นใหญ่ และแข็ง หัวขนาดกลาง หัวและกลีบสีม่วง อายุแก่เก็บเกี่ยวประมาณ 90-120วัน นิยมปลูกมากในภาคเหนือ เช่น พันธุ์พื้นเมืองเชียงใหม่ เป็นต้น 3. พันธุ์หนัก ลักษณะใบกว้างและยาว ลาต้นเล็ก หัวใหญ่ กลีบโต เปลือกหุ้มสีชมพู น้าหนักดี อายุแก่เก็บเกี่ยวประมาณ 150 วัน เช่น พันธุ์จีน หรือไต้หวัน เป็นต้น พื้นที่การผลิตกระเทียม ในภาคเหนือรวม 80,853 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม 1,088 ไร่ รวมทั้งประเทศ 81,941 ไร่ ได้แหล่งผลิตส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน พะเยา ลำปาง ลำพูน ตาก ผลผลิตรวมทั้งประเทศ 84,039 ตัน ผลผลิตต่อไร่ของพื้นที่ปลูก ได้ 1,026 กิโลกรัมต่อไร่ ปี 2562 เนื้อที่เพาะปลูก ปี 2562 ลดลงจากปี 2561 เนื่องจากราคากระเทียมที่เกษตรกรขายได้ ปี 2561 ไม่จูงใจให้เกษตรกรปลูกเพิ่ม ทำให้เกษตรกรบางส่วนปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นๆ ที่ราคาดีกว่า เช่น ข้าวโพด พริก เป็นต้น ส่งผลให้เนื้อที่เพาะปลูกลดลงสำหรับผลผลิตต่อไร่ลดลง เนื่องจากแหล่งผลิตที่สำคัญโดยเฉพาะแหล่งผลิตใหญ่ในภาคเหนือ สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของกระเทียมทำให้กระเทียมชะงักการเจริญเติบโตไม่ลงหัวส่งผลให้ภาพรวมผลผลิตลดลง สถานการณ์การนำเข้าและส่งออก ปี 2562 มีการนำเข้ากระเทียมและผลิตภัณฑ์จำนวน 110,014 ตันมูลค่า 1,700.34 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.08 และร้อยละ 4.75 ตามลำดับเมื่อเทียบกับปี 2561 เนื่องจากราคากระเทียมนำเข้ามีราคาถูกกว่าราคากระเทียมที่ผลิตภายในประเทศ โดยเฉพาะจากประเทศจีน

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :