สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : สับปะรด

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : BOMBACACEAE

สกุล (Genus) : Ananas

ชนิด (specific epithet) : comosus

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Merr.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ภูแล

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สับปะรด (Ananascomosus L. Merr) เป็นผลไม้ที่สร้างมูลค่าการส่งออกให้กับประเทศไทยปีละไม่ต่ำกว่า 15,000 ล้านบาท ในปี 2554 ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกสับปะรดเป็นอันดับหนึ่งของโลก มีสัดส่วนการส่งออกสับปะรดกระป๋อง และน้ำสับปะรดถึง 51.16 และ 27.49% ปริมาณการผลิตและการส่งออกที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น และมีการขยายพื้นที่การปลูกเพื่อให้ได้ผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการของโรงงานแปรรูปและการส่งออกโดยปี 2551 – 2555 มีพื้นที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้น 2.67, 4.44 และ 1.69% ต่อปี (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555) การวิจัยและพัฒนาที่ผ่านมาส่วนมากเป็นไปในด้านการเขตกรรมและการอารักขาพืชเป็นส่วนใหญ่ ส่วนการวิจัยและพัฒนาพันธุ์หรือสายพันธุ์สับปะรดยังไม่มีความก้าวหน้า และยังไม่สามารถสร้างพันธุ์หรือสายพันธุ์ใหม่ขึ้นมาได้ ทำให้พันธุ์ที่ปลูกยังคงเป็นพันธุ์เดิม ซึ่งปริมาณผลผลิตต่อไร่ตั้งแต่ปี 2546 – 2549 โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 3.70 ตัน/ไร่ และในปี 2555 ผลผลิตเฉลี่ย 3.89 ตัน/ไร่ ซึ่งอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำและไม่ได้เพิ่มขึ้นจากเดิม สับปะรดที่ปลูกยังคงเป็นพันธุ์เดิมๆ เช่นพันธุ์ปัตตาเวียใช้ในการแปรรูปซึ่งมีปัญหาด้านผลผลิตและความสม่ำเสมอของพันธุ์ทำให้ผลผลิตสุกไม่พร้อมกันจึงต้องเก็บเกี่ยวหลายรอบ เนื่องจากยังไม่มีพันธุ์ใหม่ที่ดีกว่ามาทดแทนได้ การปลูกมาเป็นเวลานานทำให้บางลักษณะเปลี่ยนแปลงไป เช่นใบมีหนามมากขึ้นจากเดิมมีหนามประปรายที่บริเวณปลายใบ แต่ในปัจจุบันนี้พบมีหนามเกือบตลอดใบ ทำให้การเข้าทำงานในแปลงต้องระมัดระวังอันตรายจากหนามเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่ารูปทรงผลมีหลายแบบ และมีน้ำหนักผลลดลงซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลการปลูกสับปะรดในเขตภาคตะวันออกที่พบว่าหลังจากปี 2540 น้ำหนักผลที่ส่งโรงงานจากเดิม 1.25 – 1.45 กก ลดลงเหลือ 1.00 – 1.10 กก นับเป็นความสูญเสียผลผลิตต่อปีจำนวนมาก และมีการเรียกร้องให้หน่วยงานภาครัฐทำการคัดพันธุ์ให้คงลักษณะดี โดยการทำการคัดเลือกหมู่ (เคหการเกษตร, 2554) ส่วนพันธุ์สำหรับบริโภคผลสด เช่นพันธุ์ภูเก็ต ตราดสีทอง และเพชรบุรีซึ่งเป็นพันธุ์แนะนำของกรมวิชาการเกษตรแต่ก็ยังคงไม่แพร่หลายอีกทั้งเป็นพันธุ์ที่ไม่ได้เกิดจากการปรับปรุงพันธุ์ แต่เป็นเพียงการนำพันธุ์จากต่างประเทศเข้ามาปลูกทดสอบและคัดเลือก เนื่องจากพันธุ์ปลูกที่ยังคงเป็นพันธุ์เดิมและมีเพียงไม่กี่พันธุ์แสดงให้เห็นว่ากระบวนการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์นั้นยังไม่ก้าวหน้าเมื่อเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่นๆ ในต่างประเทศที่มีการปลูกสับปะรดเป็นการค้าเช่นฟิลิปปินส์ได้มีการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์อย่างต่อเนื่องทำให้ได้พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงอีกทั้งมีคุณภาพดีตรงตามความต้องการของตลาด สับปะรดเพื่อบริโภคผลสดที่เกษตรกรนิยมปลูกในปัจจุบันมีหลายพันธุ์ แต่ยังไม่มีพันธุ์ใดที่มีศักยภาพในการส่งออกผลสด ในประเทศมาเลเซียได้สร้างพันธุ์ลูกผสม ‘Josapine’ จากการผสมพันธุ์ ‘Johor’ ซึ่งอยู่ในกลุ่ม Spanish กับพันธุ์ ‘Sarawak’ ในกลุ่ม Smooth cayenne ซึ่งเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตเร็ว รวมทั้งมีอายุการเก็บรักษานานและทนทานต่ออาการไส้สีน้ำตาลเมื่อเก็บที่อุณหภูมิต่ำจึงเป็นพันธุ์ที่ได้รับความนิยมในการบริโภคสดอย่างรวดเร็ว และเข้ามาทดแทนพันธุ์ ‘Moris’ และบริษัท Del Monte มีพันธุ์สำหรับการบริโภคสดหลายพันธุ์เช่น ‘MD2’, ‘Golden Ripe’ และ ‘Del Monte Gold’ เป็นต้น ซึ่งเป็นพันธุ์สำหรับบริโภคสดที่มีความทนทานต่ออาการไส้สีน้ำตาล แต่อ่อนแอต่อเชื้อ Phytophthora สับปะรดพันธุ์เพชรบุรีเป็นพันธุ์ที่นำจุกมาจากประเทศไต้หวัน นำมาขยายพันธุ์เพื่อเพิ่มจำนวนหน่อโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และการตัดชำลำต้น มีลักษณะใบ รูปทรงต้น สีเนื้อ การแตกหน่อใกล้เคียงกับพันธุ์สวี และภูเก็ต แม้มีการคัดเลือกสายต้น (clone) ที่มีลักษณะดีไว้ 2 ลักษณะคือตรงตามพันธุ์เดิมโดยบริเวณปลายผลติดกับจุกคอดเล็กน้อย และทรงผลสมบูรณ์ทั้งผลบริเวณปลายผลติดกับจุกไม่คอด ได้มีการคัดทิ้งลักษณะไม่ดีคือผลมีลักษณะกลม และตาผลตรงส่วนติดกับจุกไม่พัฒนามากกว่าครึ่งผล (กรมวิชาการเกษตร, 2541) แต่เนื่องจากปัจจุบันพบผลทั้งสามแบบปะปนกันในแปลงปลูกซึ่งอาจมีการปนกันของหน่อพันธุ์ทั้งสามสายต้น หรือมีการกลายพันธุ์จากลักษณะเดิมที่คัดไว้

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :