ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชผัก
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : พริกใหญ่
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : SOLANACEAE
สกุล (Genus) : Capsicum
ชนิด (specific epithet) : annuum
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ
พันธุ์ (Variety) : พันธุ์พิจิตร 2
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : สถานการณ์การผลิตพริก พริกอยู่ในวงศ์ Solanaceae เช่นเดียวกับ มะเขือเทศ มะเขือ มันฝรั่ง ยาสูบ และพิทูเนีย มีคุณค่าทางอาหาร โดยเฉพาะวิตามินเอ และวิตามินซี ในปริมาณสูง นำมาใช้ประโยชน์ได้ทั้งผลสด หรือนำผลแห้งไปแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ อาทิ น้ำพริก พริกแกง ซอสพริก น้ำจิ้ม และพริกดอง ใช้เป็นส่วนประกอบในการเพิ่มรสชาติในขนมขบเคี้ยว เส้นหมี่สำเร็จรูป สีจากพริก น้ำมันพริก (oleoresin) และสารสกัดจากพริก (capsaicin) สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมยา อาหารเสริม พริกยังเป็นเป็นพืชผักที่สำคัญทางเศรษฐกิจพืชหนึ่ง พริกในประเทศไทยมีหลายชนิด ได้แก่ พริกขี้หนูผลใหญ่ พริกชี้ฟ้า พริกขี้หนูสวน พริกหยวก และ พริกหวานพริกถูกนำมาใช้ประโยชน์ทั้งในรูป ผลสด พริกแห้ง รวมถึงผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ซอสพริก พริกแห้ง พริกป่นพริกดอง สีผสมอาหาร นอกจากนั้นยังนำสารสกัดจากพริกไปใช้ในเวชภัณฑ์ พันธุ์พริกที่เกษตรกรนิยมปลูก มีดังนี้ 1.พริกขี้หนูผลใหญ่ปลูกกันมากที่จังหวัดชัยภูมิ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี นครพนม ตาก เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ กาญจนบุรี และนครศรีธรรมราช 2. พริกขี้หนูผลเล็กปลูกกันมากที่จังหวัด ตาก กาญจนบุรี เชียงใหม่ และนครศรีธรรมราช 3.พริกใหญ่ปลูกกันมากที่จังหวัดแพร่ เชียงใหม่ นครราชสีมา และกาญจนบุรี ในปี 2562 ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกพริกทั้งหมด 167,443 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 343,566 ไร่ ผลผลิต 283,515 ตัน พริกที่ปลูกมากที่สุด คือ พริกขี้หนูผลใหญ่ มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 145,929 ไร่ ผลผลิตรวม 127,295 ตัน คิดเป็นมูลค่า 5,036.72 ล้านบาท รองลงมาคือ พริกขี้หนูผลเล็ก มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 177,447 ไร่ ผลผลิตรวม 142,986 ตัน คิดเป็นมูลค่า 6,966.28 ล้านบาท และพริกใหญ่ ได้แก่ พริกหนุ่ม พริกบางช้าง พริกมัน พริกเหลือง และพริกใหญ่ ลูกผสมพันธุ์ต่างๆ มีพันธุ์ต่างๆ มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 17,491 ไร่ ผลผลิต 26,368 ตัน คิดเป็นมูลค่า 773.90 ล้านบาท นอกจากนั้นเป็นพริกหยวกและพริกหวานมีพื้นที่เก็บเกี่ยว 2,151 ไร่ คิดเป็นมูลค่า 56.60 ล้านบาท จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่า พื้นที่ปลูกและปริมาณผลผลิตพริกลดลงจากปี 2561 และปีก่อนๆเป็นอย่างมาก สถานการณ์การนำเข้าและส่งออก ปี 2561 มีการนำเข้าพริกและผลิตภัณฑ์จากพริกมาขึ้น เนื่องจากราคาพริก นำเข้ามีราคาถูกกว่าราคาพริกที่ผลิตภายใน ประเทศโดยเฉพาะจากประเทศอินเดียและจีน และการส่งออกในปี 2561 มีจำนวนการส่งออกเพิ่มขึ้นกว่าปีก่อน โดยส่งออกไปยังประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย สถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้ม ปีที่ผ่านมา พริกขี้หนูสวนที่ออกมาตั้งแต่ฤดูฝน มีผลผลิตมากจนเกินไป ส่งผลทำให้พริกที่ออกในช่วงฤดูหนาว ราคาตกต่ำลงมา เหลือเพียง 30 บาทต่อกิโลกรัม นอกจากนี้ยังพบปัญหาพริกเจอกับแสงแดดในตอนกลางวัน ทำให้สุกและแดงไว ค่าคนงานเก็บพริกที่เพิ่มสูงขึ้น กิโลกรัมละ 13 บาท ส่งผลให้ชาวสวนพริกเดือดร้อนอย่างมาก แต่ปัจจุบันมีตลาดเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ราคาก็ยังอยู่ในระดับที่ดี ตัวอย่างเกษตรกรปลูกพริกซุปเปอร์ฮอทประมาณ 1 ไร่ มีรายได้เฉลี่ยประมาณ 60,000-100,000 บาท ถึงแม้จะมีพริกจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาจำหน่ายในราคาที่ถูกกว่าก็ตาม แต่ก็ยังสู้เรื่องของคุณภาพและความสดไม่ได้ ถึงแม้ว่าพริกจากประเทศเพื่อนบ้านจะมีราคาที่ถูกกว่าครึ่งหนึ่งของราคาซื้อขายพริกในประเทศ แต่ก็จะมีเฉพาะกลุ่มที่เลือกใช้ ซึ่งพริกจากประเทศเพื่อนบ้านยังมีจุดอ่อนในเรื่อง คุณภาพและความสดใหม่ เนื่องจากระยะเวลาในการขนส่งเข้ามาขายในบ้านเรา ซึ่งใช้ระยะเวลาหลายวันทำให้พริกมีคุณภาพที่ลดลง แต่ถ้ากลุ่มตลาดรับซื้อที่ต้องการพริกที่มีคุณภาพสูง มีความสดใหม่ พ่อค้าหรือผู้ส่งออกก็ยังเลือกซื้อพริกที่ปลูกในไทยอยู่ ซึ่งอนาคตผู้ส่งออกจะทำจุดรับซื้อ นำห้องเย็นใช้ในพื้นที่เพื่อรวบรวมสินค้าให้ได้ตามจำนวนที่ต้องการ เพื่อขนส่งต่อไป ส่วนตลาดหลักๆที่ขายในประเทศ ได้แก่ ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง ตลาดศรีเมือง ตลาดกลางผักและผลไม้จังหวัดราชบุรี
ไถแปร :
อื่นๆ :
วิธีปลูก :
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธี :
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :