ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ดอกไม้ประดับ
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะลิ
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : OLEACEAE
สกุล (Genus) : Jasminum
ชนิด (specific epithet) : J. sambac
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : (L.) Aiton ExC
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ
พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : มะละเป็นไม้ดอกที่นอกจากจะปลูกไว้เพื่อความสวยงาม และใช้กะันภายในครอบครัวแล้ว ปัจจุบันมีการปลูกมะลิเพื่อเป็นการค้าที่ทำรายได้เป็นอย่างดี ทั้งในการทำพวงมาลัย ดอกไม้แห้ง อุตสาหกรรมน้ำมันหอมระเหย เป็นต้น พื้นที่การปลูกมะลิของประเทศไทย มีรายงานของกรมส่งเสริมการเกษตร ในปี 2541 มีจำนวน 5,500 ไร่ ซึ่งปลูกได้ทุกจังหวัดในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือตอนล่าง พื้นที่ปลูกที่สำคัญอยู่ในเขตจังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก ลำพูน ขอนแก่น การส่งออกในปี 2543 มีการส่งออกในรูปของดอกมะลิไปเยอรมัน เนเธอแลนด์ มาเลเซีย มี่มูลค่า 646,960 บาท (กองควบคุมฯ, 2543) ตลาดของมะลิในต่างประเทศที่สำคัญ คือ เนเธอร์แลนด์ อเมริกา และเบลเยี่ยม ส่วตลาดพวงมาลัยของไทย คือ อเมริกา และญี่ปุ่น (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2543) ปัญหาในการผลิตมะลิลา คือในช่วงฤดูหนาว มีปริมาณดอกมะลิลกาออกสู่ตลาดน้อย ซึ่งสวนทางกับความต้องการของตลาดที่มีมาก เนื่องจากช่วงฤดูหนาวมีงานทางศาสนา และงานมงคลต่างๆ มาก (ธวัชชัย, 2540) ราคาขายดอกมะลิลาในตลาดกรุงเทพมหานคร ขึ้นอยู่กับปรมาตรผลผลิต กล่าวคือ ปกติราคา 100-150 บาทต่อดอก 1 กิโลกรัม ในฤดูฝนมีปริมาณดอกมะลิออกสู่ตลาดมาก ราคาตำ่กว่า 100 บาท สวนฤดูหนาวราคา 600-700 บาทต่อดอก 1 กโลกรัม ส่วนต่างจังหวัดโดยทั่วไปราคาขายส่งดอกมะลิ ประมาณ 100-120 บาทต่อดอก 1 กิโลกรัม ตลอดปี ดังนั้น แนวทางในการส่งเสริมการผลิต จึงควรส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้และใช้เทคโนโลยีการผลิตมะลิลาให้ออกดอกในฤดูหนาว และส่งเสริมให้ใช้เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมะลิ เพื่อลดความเสียหายหลังการเก็บเกี่ยวและระหว่างการขนส่ง
ไถแปร :1 ครั้ง
อื่นๆ : ควรหว่านปูนขาวหลังไถเตรียมแปลงก่อนพรวนดิน เพื่อปรับความเป็นกรดเป็นด่างของดิน และเป็นการป้องกันการเกิดโรคต้นเน่าแห้งของมะลิได้ด้วย ถ้าเป็นบริเวณที่เป็นดินเหนี่ยว ควรยกร่องปลูก เพื่อให้มีการระบายน้ำ
วิธีปลูก : ปลูกในหลุมขนาด 50 x 50 x 50 เซนติเมตร ที่ผสมปุ๋ยคอก เศษใบไม้หรือปุ๋ยหมัก
อัตราปลูก : 2540 ต้น ต่อ ไร่
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : กิ่งตอน หรือกิ่งชำถุงแล้ว หลังชำ 3 อาทิตย์ และอนุบาล รวมเวลาเป็น 1 เดือน
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ : IBA ผสม NAA
อัตรา : 1 : 1 ความเข้มข้น 4,500 มิลลิกรัมต่อลิตร
วิธีการ : จุ่มกิ่งพันธุ์ขนาดยาว 4 นิ้ว หรือมีข้อ 3 ข้อ พร้อมใบครึ่งใบ 1 คู่ ในฮอร์โมนเร่งรากที่เตรียมไว้ แล้วปักชำลงในกะบะทรายผสมขี้เถ้าแกลบ อัตรา 1 : 1 รดน้ำให้ชื้นอยู่เสมอ
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ : 1
วันที่ :
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15
อัตรา : 10 กรัม ต่อต้น
โดยวิธี : หว่านรอบทรงพุ่มใบ
ครั้งที่ : 2
วันที่ :
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15
อัตรา : 10 กรัม ต่อต้น
โดยวิธี : หว่านรอบทรงพุ่มใบ
ครั้งที่ : 3
วันที่ :
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 15-15-15
อัตรา : 10 กรัม ต่อต้น
โดยวิธี : หว่านรอบทรงพุ่มใบ
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 1/1/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 1/8/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 3
วันที่ : 1/15/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 4
วันที่ : 1/22/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 5
วันที่ : 1/29/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ : เทคโนโลยีการผลิตดอกมะลิในฤดูหนาว
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :