ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : เกาลัดจีน
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : FAGACEAE
สกุล (Genus) : Castanea
ชนิด (specific epithet) : mollissima
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Bl.
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ
พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : ประเทศไทยนำเข้าเกาลัดมากกว่าปีละ 370 ล้านบาท (กรมศุลกากร, 2560) ในลักษณะลักลอบที่ผิดกฎหมายและผ่านด่านศุลกากรตามกฎหมาย ซึ่งเกาลัดจีนจะมีราคาสูง ราคาเมล็ดสดนำเข้าราคากิโลกรัมละ 35-50 บาท ราคาจำหน่ายเมล็ดสดกิโลกรัมละ 90-170 บาท ขึ้นอยู่กับฤดูกาล เมื่อนำมาคั่วหรือแปรรูปเป็นอาหารหรือของขบเคี้ยว จะมีราคาสูง 300-400 บาท (เสริมสกุล และเชวา, 2548) ผลผลิตของเกาลัดทั่วโลกที่อ้างอิงโดย FAO มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นโดยในปี ค.ศ. 1993 มีผลผลิต 650,000 ตัน แต่ในปี ค.ศ. 2013 มีผลผลิต 2,000,000 ตัน พื้นที่ปลูกหลัก คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน 85% แต่พบ 15% ที่ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ตุรกี อิตาลี โครเอเชีย สเปน โปรตุเกส ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ชิลี และอาร์เจนตินา (Benjamin Hennig, 2015) แต่เมื่อปี ค.ศ. 2016 พบว่าผลผลิตลดลง 95% โดยเฉพาะที่ประเทศอิตาลี เนื่องจากสภาพอากาศแล้ง (Anonymous1, 2016) ปัจจุบันเกาลัดจีนเป็นที่นิยมในหมู่ผู้บริโภคและเกษตรกรส่วนใหญ่ มีพื้นที่กว่าระดับ 700 เมตร สนใจและปลูกเกาลัดจีน กรมวิชาการเกษตรยังไม่มีพันธุ์เกาลัดจีนที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ประกอบกับปัญหาของการผลิตเกาลัดจีนคือผลผลิตส่วนใหญ่มีปริมาณและคุณภาพไม่สม่ำเสมอ เนื่องจากเกษตรกรยังขาดเทคโนโลยีการจัดการดินและปุ๋ยที่เหมาะสม ดังนั้นจึงจำเป็นต้องคัดเลือก เปรียบเทียบ และทดสอบหาพันธุ์เกาลัดจีนที่เหมาะสม การจัดการธาตุอาหารโดยการวิเคราะห์ตามความต้องการของเกาลัดจีนร่วมกับการวิเคราะห์ดิน เพื่อประเมินอัตราปุ๋ยที่ใส่ให้เกาลัดจีนมีผลผลิตและคุณภาพดีจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่จะสามารถลดปัญหาที่กล่าวมาได้ เพื่อให้เป็นพืชทางเลือกใหม่สำหรับเกษตรกรต่อไป จากรายงานสถิติปริมาณและมูลค่านำเข้าเกาลัดในปี พ.ศ. 2556-2559 โดย กรมศุลกากร (2560) พบว่า มีการนำเข้าจากประเทศ จีน มาเลเซีย อิตาลี อังกฤษ ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส และเกาหลีไต้ ซึ่งมีมูลค่าการนำเข้าเพิ่มจาก 371,135,805 บาท ในปี พ.ศ. 2556 เป็น 371,733,576 บาท ในปี พ.ศ. 2559 สำหรับในปี พ.ศ. 2560 ซึ่งมีข้อมูลเฉพาะในเดือน มกราคม-พฤษภาคม 2560 พบว่ามีแนวโน้มว่าจะมีมูลค่านำเข้าเพิ่มมากขึ้น
ไถแปร :
อื่นๆ :
วิธีปลูก :
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธี :
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :