สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะพร้าว

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ARECACEAE

สกุล (Genus) : Cocos

ชนิด (specific epithet) : nucifera

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่มี

พันธุ์ (Variety) : มะพร้าวพันธุ์นาฬิเก

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : มะพร้าว สถานการณ์การผลิต กรมวิชาการเกษตรได้มอบให้ ศวส.ชุมพร ผลิตต้นพันธุ์มะพร้าวพันธุ์ดี เพื่อให้เกษตรกรปลูกทดแทน ในโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะพร้าวพันธุ์ดี โดยช่วง 2 ปีที่ผ่านมาได้ผลิตต้นพันธุ์มะพร้าวจำหน่ายให้เกษตรกรแล้ว จำนวน 76,922 หน่อ และช่วง ธ.ค.62-ม.ค.63 กรมฯ ได้สนับสนุนมะพร้าวพันธุ์ไทย จำนวน 10,000 หน่อ ให้เกษตรกรปลูก เนื่องจากสภาวะอากาศที่เปลี่ยนแปลงทำให้ผลผลิตมะพร้าวแกงลดลงและบางส่วนไม่ได้คุณภาพ รวมไปถึงการระบาดของแมลงศัตรูที่สำคัญไม่ว่าจะเป็นหนอนหัวดำและแมลงดำหนามมะพร้าว ส่งผลให้ผลิตลดลง แต่ในปี 2561 ผลผลิตมะพร้าวมีประมาณ 858,235 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ที่มีจำนวน 761,914 ตัน เนื่องจากแหล่งปลูกมะพร้าวที่สำคัญ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เริ่มฟื้นตัวจากการระบาดของศัตรูพืชแมลงดำหนามและหนอนหัวดำ ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สนับสนุนให้เกษตรกรใช้ศัตรูธรรมชาติ คือ แตนเบียนบราคอนในพื้นที่ระบาด ขณะที่เขตภาคใต้มีปริมาณน้ำฝนเพียงพอ (มากกว่าปีละ 2,000 มม.) ผลผลิตมะพร้าวจึงเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ผลผลิตต่อไร่ ปี 2562 อยู่ที่ 1,037 กิโลกรัม ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2560 ที่ให้ผลผลิต 1,007 กิโลกรัมต่อไร่ พื้นที่ปลูกมะพร้าวทั้งประเทศปี 2562 มีจำนวน 847,881 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ปลูกจังหวัดทางภาคใต้ 5 ลำดับแรก ได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 352,813 ไร่ จังหวัดชุมพร 97,279 ไร่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 81,111 ไร่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 67,552 ไร่ จังหวัดปัตตานี 44,463 ไร่ เป็นต้น สถานการณ์การตลาด ความต้องการใช้มะพร้าวผลในประเทศ เป็นความต้องการใช้เพื่อการบริโภคโดยตรงร้อยละ 35 อีกร้อยละ 65 ใช้ในอุตสาหกรรมแปรรูป เมื่อผลผลิตในประเทศลดลงความต้องการของภาคอุตสาหกรรมยังมีอย่างต่อเนื่องและเพิ่มขึ้น ทำให้ราคาผลผลิตมะพร้าวและราคากะทิสดสูงขึ้นเป็น 2 เท่าในช่วงปลายปี 2562 – ม.ค. 63 การนำเข้า ผลผลิตมะพร้าวแกง มีช่วงที่ออกน้อยในช่วงปลายปีต่อเนื่องถึงต้นปี จึงมีการอนุญาตในนำเข้า ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เมษายน แต่ด้วยมีปัญหาแมลงศัตรูและการลักลอบนำเข้าผิดกฎหมาย ปัจจุบันจึงอนุญาตให้นำเข้าผ่านแค่ ด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพฯ และ ด่านตรวจพืชท่าเรือแหลมฉบัง อย่างไรก็ตามผลผลิตมะพร้าวในประเทศยังไม่เพียงพอต่อการแปรรูปและยังมีการนำเข้าอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2562 มีการนำเข้ามะพร้าวผลแก่ 170,619.81 ตัน มูลค่า 1.4 ล้านบาท การส่งออก ประเทศไทยมีการส่งออกผลิตภัณฑ์มะพร้าวไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก การส่งออกกะทิสำเร็จรูปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้บริโภคในต่างประเทศมีความนิยมบริโภคกะทิสำเร็จรูป เช่น ใช้ในการปรุงอาหาร โดยเฉพาะตลาดสหรัฐอเมริกาและจีน โดยในปี 2562การส่งออกผลิตภัณฑ์กะทิสำเร็จรูปมีมูลค่าการส่งออกสูงถึง 12,766 ล้านบาท ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย แคนาดา เนเธอร์แลนด์ และ เยอรมนี ผลิตภัณฑ์มะพร้าวอื่น ๆ ที่มีมูลค่าการส่งออกรองลงมา ได้แก่ เนื้อมะพร้าวแห้ง ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 1,874 ล้านบาท แผนยุทธศาสตร์มะพร้าวเพื่ออุตสาหกรรม (Roadmap) ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้คาดการณ์แนวโน้มความต้องการใช้มะพร้าว 5 ปี ข้างหน้า (ปี 2560-2564) คือ ใช้สำหรับการบริโภคขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.65 ต่อปี หรือประมาณ 0.93 ล้านตัน ในปี 2564 และความต้องการส่งออกกะทิสำเร็จรูปจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี ส่วนการนำเข้าน้ำมันมะพร้าว และกะทิสำเร็จรูปจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี ซึ่งจะส่งผลให้ความต้องการใช้ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.66 ต่อปี แผนยุทธศาสตร์มะพร้าวฯ มีนโยบายขยายพื้นที่ปลูกที่มีศักยภาพและทดแทนสวนเก่า โดยทั่วไปจากสภาพสวนร้อยละ 60 ของพื้นที่ 696,000 ไร่ ต้นมะพร้าวมีอายุมาก 40 ปีขึ้นไป ขาดการจัดการและการดูแลอย่างเหมาะสม ซึ่งต้องผลิตผลพันธุ์ในการเพาะจำนวน 31.64 ล้านผล คิดเป็นต้นกล้าประมาณ 17.40 ล้านต้น ซึ่งมะพร้าวสามารถทำรายได้สู่เกษตรกรได้เฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 25,500 บาท/ไร่/ปี (85 ผล/ต้น/ปี) เรียบเรียงข้อมูลจาก 1. เอกสารเผยแพร่ “สถานการณ์การผลิตมะพร้าว” สถาบันวิจัยพืชสวน

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :