ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชผัก
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : หน่อไม้ฝรั่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : ASPARAGACEAE
สกุล (Genus) : Asparagus
ชนิด (specific epithet) : officinalis
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่มี
พันธุ์ (Variety) : ไม่ได้ระบุ
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : ความเป็นมา การส่งเสริมการผลิตหน่อไม้ฝรั่งของประเทศไทย เกิดจากการที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์พิจารณาเห็นว่าหน่อไม้ฝรั่งเป็นพืชที่มีผลตอบแทนสูง และมีแนวโน้มในการส่งออกที่ดีทั้งในรูปสดและแปรรูป ประกอบกับในปลายปี 2529 บริบัทธานียามา(สยาม)จำกัด ได้ติดต่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ขอความช่วยเหลือบริษัทในการส่งเสริมการปลูกหน่อไม้ฝรั่ง เพื่อการส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่น ดังนั้นกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้มอบหมายให้ กรมส่งเสริมการเกษตรรับผิดชอบและหาความเป็นไปได้ รวมทั้งพิจารณาพื้นที่ที่เหมาะสมในการดำเนินการซึ่งกรมส่งเสริมการเกษตรพิจารณาเห็นว่าหน่อไม้ฝรั่งเป็นพืชที่น่าสนใจ และสามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ต่าง ๆ มีตลาดรับซื้อที่แน่นอน ราคารับซื้ออยู่ในเกณฑ์ดี และมีสัญญาซื้อขายระยะยาวระหว่างกลุ่มเกษตรกรและบริษัทถึง 3 ปี นอกจากนั้นเป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงแก่เกษตรและเป็นการสนับสนุนนโยบายการส่งออกผลิตผลการเกษตรของรัฐบาล ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 ซึ่งจะทำให้มีรายได้เข้าประเทศและมีการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นดังนั้นใน 2530 กรมส่งเสริมการเกษตรจึงได้เริ่มดำเนินการส่งเสริมการผลิตหน่อไม้ฝรั่งเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน สถานการณ์ด้านการผลิต ในปี 2529 ประเทศไทยมีพื้นที่การผลิตหน่อไม้ฝรั่ง 3,000 ไร่ กรมส่งเสริมการเกษตรเริ่มมีการส่งเสริมการปลูกหน่อไม้ฝรั่งตั้งแต่ปี 2530 โดยส่งเสริมให้เกษตรกรทำการผลิตแบบครบวงจรโดยมีบริษัทผู้รับซื้อ ทำสัญญาซื้อขายกับกลุ่มเกษตรกร และประกันราคารับซื้อขั้นต่ำ การส่งเสริมด้วยระบบมีข้อมตกลงล่วงหน้านี้ สร้างความมั่นใจให้กับเกษตรและประกันราคารับซื้อขั้นต่ำ การส่งเสริมด้วยระบบมีข้อตกลงล่วงหน้า พื้นที่การผลิตหน่อไม้ฝรั่งเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปีเนื่องจากมีความต้องการของผู้ส่งออกซึ่งในปัจจุบันมีผู้ส่งออกรายใหญ่มากกว้่า 10 ราย ในปี 2536 มีพื้นที่ปลูกหน่อไม้ฝรั่งทั้งประเทศ 23ฒ901 ไร่ โดยแยกเป็นพื้นที่การผลิตหน่อเขียว 19,901 ไร่ (พื้นที่เก็บเกี่ยว 13,671 ไร่) และพื้นที่การผลิตหน่อขาว 4,000 ไร่ (พื้นที่เก็บเกี่ยว 2,691 ไร่) ผลผลิตหน่อไม้ฝรั่งรวมทั้งประเทศประมาณ 15,000 ตัน/ปี จังหวัดที่เป็นแหล่งปลูกหน่อไม้ฝรั่งหน่อเขียวแหล่งใหญ่ อยู่จังหวัดนครปฐม ราชบุรี ประจวบคีรีขันธ์ และกาญจนบุรี เป็นต้น ส่วนแหล่งปลูกหน่อขาว เพื่อส่งโรงงานที่สำคัญได้แก่ จ.สุพรรณบุรี ชัยนาท ระยอง สถานการณ์ด้านการตลาด ในปี 2529 ประเทศไทยมีการส่งออกหน่อไม้ฝรั่งเฉพาะหน่อขาวเพียงอย่างเดียวในประมาณ 10 ตัน มูลค่า 0.3 ล้านบาท การส่งออกเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมาปริมาณและมูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น เนื่องจากเริ่มมีการส่งออกหน่อเขียวสดไปยังประเทศญี่ปุ่นในปี 2536 มีการส่งออกหน่อไม้ฝรั่งทั้งสิ้น 3,580 ตัน มูลค่ารวม 225.8 ล้านบาท โดยแยกเป็นการส่งออกหน่อเขียวสด ปริมาณ 2,330 ตัน มูลค่า 182.3 ล้านบาท และส่งออกหน่อขาวบรรจุขวดและกระป๋องปริมาณ 1,250 ตัน มูลค่า 43.5 ล้านบาท ตลาดที่สำคัญในการส่งออกหน่อเขียวสดคือประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นตลาดหลักของประเทศไทยส่วนหน่อขาวบรรจุกระป๋องและขวด ตลาดที่สำคัญได้แก่ประเทศเนเธอร์แลนด์ และเดนมาร์ก
ไถแปร :
อื่นๆ :
วิธีปลูก :
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธี :
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :