สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชอุตสาหกรรม

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ชา

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : THEACEAE

สกุล (Genus) : Camellia

ชนิด (specific epithet) : sinensis

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.) Kuntze.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่มี

พันธุ์ (Variety) : assamica (J. W. Mast.) Kitam.

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : - ผลผลิตชาโลก ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก 4.57 ล้านตัน ในปี 2553 เป็น 5.56 ล้านตัน ในปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.49ต่อปี ประเทศที่ผลิตชาที่สุดได้แก่ จีน รองลงมาได้แก่ อินเดีย และ เคนยา โดยมีผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 34.76 ร้อยละ 21.13 และ ร้อยละ 7.96 ของผลผลิตโลก ตามลำดับ - ผลผลิตชาอาเซียน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก 467,429 ตัน ในปี 2553 เป็น 541,542 ตัน ในปี 2557 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.30 ต่อปี ประเทศที่ผลิตชามากที่สุดได้แก่ เวียดนาม รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และเมียนมาร์ โดยเวียดนามมีผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 41.20 อินโดนีเซีย ร้อยละ 29.19 และเมียนมาร์ ร้อยละ 13.63 ของผลผลิตอาเซียน ตามลำดับ - ส่วนในประเทศไทย แหล่งปลูกชาที่สำคัญของไทยอยู่ในแถบภูเขาสูงในภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง แพร่ และน่าน โดยพันธุ์ที่ปลูกได้แก่ พันธุ์ชาอัสสัม ร้อยละ 87 และ พันธุ์ชาจีน ร้อยละ 13 ของผลผลิตทั้งหมด โดยใช้ในประเทศร้อยละ 89 และส่งออกร้อยละ 11 ของผลผลิตทั้งหมด ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา ไทยเพิ่มขึ้นจาก 126,340 ไร่ ในปี 2554 เป็น 135,437 ไร่ ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.80 ต่อปี ผลผลิตชา เพิ่มขึ้นจาก 73,320 ตัน ในปี 2554 เป็น 81,127 ตัน ในปี 2558 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.71 ต่อปี และผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจาก 580 กิโลกรัมในปี 2554 เป็น 599 กิโลกรัมในปี 2558 หรือเพิ่มร้อยละ 0.91 ต่อปี เนื่องจากเกษตรกรได้ทำการตัดแต่งกิ่ง และสภาพอากาศเหมาะสมต่อการแตกยอดอ่อน และภาครัฐได้ส่งเสริม จูงใจให้ เกษตรกรขยายเนื้อที่ปลูกชาเพิ่มขึ้น

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก : ขุดหลุมปลูกชากว้าง 40-50 ซม. ลึก 40-50 ซม. โดยขุดเป็นร่อง ให้ระยะระหว่างร่องห่างกันประมาณ 180-200 ซม. (เตรียมหลุมปลูกก่อนย้ายปลูกประมาณ 6 เดือน)

อัตราปลูก : 2,000-2,100 ต้น/ไร่

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว : ใช้แรงงานคนในการเก็บเกี่ยวยอดชา

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :