ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะม่วงแก้ว
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : ANACARDIACEAE
สกุล (Genus) : Mangifera
ชนิด (specific epithet) : indica
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่มี
พันธุ์ (Variety) : แก้ว ศก. 007
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : จากสถานการณ์การผลิตและการส่งออกมะม่วงของประเทศไทยแม้ว่าจะจัดอยู่ลำดับที่ 3 และ 4 ของโลกแต่ปริมาณการส่งออกน้อย โดยผลผลิตส่วนใหญ่ร้อยละ 96 ใช้บริโภคภายในประเทศ ส่งออกเพียงร้อยละ 2.3 และแปรรูปร้อยละ 1.67 (ราตรี, 2556) พันธุ์ที่ส่งออกหลักคือพันธุ์น้ำดอกไม้สีทองซึ่งมีคุณภาพดีเป็นที่ยอมรับแต่ขาดพันธุ์ที่จะมาทดแทนพันธุ์หลักซึ่งมีจุดอ่อนหลายประการทั้งในด้านอายุการเก็บรักษาสั้นเพียง 16 วันเมื่อเปรียบมะม่วงพันธุ์คู่แข่งในตลาดโลก (40 วัน) ทำให้ต้องขนส่งทางอากาศซึ่งมีต้นทุนสูง นอกจากนี้ยังอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่แปรปรวนซึ่งมีผลกระทบต่อผู้ผลิต ผู้ส่งออก และส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของมะม่วงไทยในตลาดโลก ดังนั้นการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์ให้ตรงตามความต้องการของตลาดและมีคุณลักษณะอื่นๆทั้งสีสรรสดสวย อายุการเก็บรักษายาวนานขึ้น ทนทานต่อการขนส่ง รวมทั้งการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์ที่มีคุณลักษณะเหมาะสมในด้านการบริโภคดิบและอุตสาหกรรมแปรรูปให้เพิ่มมากขึ้น จะเป็นการเพิ่มช่องทางการตลาดและเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของมะม่วงไทยในตลาดโลกเช่นกัน ด้านการปรับปรุงพันธุ์ กรมวิชาการเกษตรโดยศูนย์วิจัยพืชสวนศรีสะเกษและศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัยได้มีการรวบรวมพันธุ์มะม่วงดั้งเดิมไว้มากกว่า 200 พันธุ์ รวมทั้งพันธุ์ต่างประเทศบางส่วน ซึ่งได้นำมาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์บางส่วนและได้ออกพันธุ์แนะนำของมะม่วงอุตสาหกรรม คือพันธุ์แก้ว 007 รวมทั้งพันธุ์ และได้ทำการปรับปรุงพันธุ์มะม่วงสายพันธุ์ใหม่เพื่อการส่งออก (ระยะที่ 2) ตั้งแต่ปี 2555 – 2558 โดยเกณฑ์การคัดเลือกคือคุณภาพดีกว่าหรือเทียบเท่าน้ำดอกไม้ เปลือกหนา สีสรรแปลกตา ทนทานต่อโรคแอนแทรคโนส จนถึงปัจจุบันได้ทำการผสมพันธุ์มะม่วงลูกผสม รวม 30 คู่ผสม และได้นำยอดลูกผสมไปเสียบขยายพันธุ์บนต้นมะม่วงที่มีอายุ 5 – 7 ปี และมี 1 สายพันธุ์ที่เริ่มให้ผลผลิต จากงานวิจัยดังกล่าวจึงจำเป็นต้องดำเนินการต่อเนื่อง โดยทำการคัดเลือกลูกผสมที่มีลักษณะทางการเกษตรที่ดีตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อจะได้มีพันธุ์มะม่วงลูกผสมที่เหมาะแก่การบริโภคสดสำหรับเกษตรกรต่อไป นอกจากนี้ในช่วงปี 2559-2562 ยังได้ทำการศึกษาคัดเลือกสายต้นมะม่วงอกร่องซึ่งเป็นมะม่วงรับประทานสุกที่เหมาะสำหรับรับประทานข้าวเหนียวมูล ซึ่งเอกลักษณ์โดดเด่นของมะม่วงอกร่องคือ มีรสหวานแหลม เนื้อละเอียด เมื่อดิบเนื้อสีขาวขุ่น มีความเป็นแป้งมาก รสเปรี้ยวจัด เมื่อผลสุกเนื้อจะมีสีเหลืองนวล รสหวานจัด แต่มีข้อเสียคือมีเสี้ยนมาก บอบช้ำง่ายเพราะเปลือกผลบาง อายุการวางตลาดไม่นาน โดยได้ทำการรวบรวมสายต้นมะม่วงอกร่องไว้ 37 สายต้นรวมทั้งได้ทำการวิเคราะห์ลายพิมพ์ DNA และจะต้องทำการเปรียบเทียบและคัดเลือกสายต้นที่มีลักษณะตรงตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อจะเสนอเป็นพันธุ์แนะนำสำหรับเกษตรกรต่อไป และจากการประชุมร่วมกับสมาคมชาวสวนมะม่วงไทยประเด็นปัญหาหนึ่งคือด้านการปรับปรุงพันธุ์ โดยต้องการให้มีการปรับปรุงพัฒนาพันธุ์มะม่วงผิวสีที่มีคุณภาพเนื้อ ความหวานและรสชาติคล้ายพันธุ์น้ำดอกไม้ เปลือกหนา ทนทานต่อโรคและแมลง อายุหลังการเก็บเกี่ยวยาวนานขึ้น ซึ่งมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้เป็นกลุ่มสายพันธุ์อินโดจีนซึ่งมีลักษะผลสีเขียวหรือเหลืองอมเขียวเมื่อสุก ส่วนพันธุ์ที่ตลาดต่างประเทศนิยมจะเป็นมะม่วงในกลุ่มอินเดีย และไต้หวัน ซึ่งจุดเด่นคือเมื่อสุกจะมีผลสีแดง ทรงผลกลมง่ายต่อการบรรจุภัณฑ์เพื่อการส่งออก ดังนั้นการปรับปรุงพันธุ์ให้มะม่วงมีผิวสีแดงและมีคุณลักษณะต่างๆตามที่กล่าวจะตอบสนองความต้องการของตลาด โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลตรุษจีน ผลไม้สดที่มีผิวสีแดง รูปทรงกลม จะได้รับความนิยมมาก เนื่องจากมีความเชื่อว่าสีแดงเป็นสีนำโชค ทรงกลมเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นหนึ่งเดียวและความสุข นอกจากนี้การปรับปรุงพันธุ์มะม่วงเพื่อการบริโภคดิบและมะม่วงอุตสากรรม จะเป็นการเพิ่มช่องทางเลือกสำหรับเกษตรกรและผู้ประกอบการอีกแนวทางหนึ่ง ซึ่งในส่วนของมะม่วงดิบที่ได้รับความนิยมคือพันธุ์เขียวเสวย แต่มีข้อด้อยด้านการออกดอกติดผลยาก เปอร์เซ็นต์ติดผลต่ำ ปัญหาโรคยางไหล ส่วนมะม่วงอุตสาหกรรมซึ่งใช้ประโยชน์ในหลายวัตถุประสงค์เช่นการแปรรูปเป็นน้ำผลไม้ ฟรุ๊คสลัด ดองเค็ม แช่อิ่ม กวน ฯลฯ แต่เรายังไม่มีการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์ที่มีลักษณะเฉพาะตามความต้องการของผู้ประกอบการและประเภทการใช้ประโยชน์ ดังนั้นการที่ กรมวิชาการเกษตรได้มีการรวบรวมพันธุ์และมีฐานพันธุกรรมของมะม่วงมากสุดกว่า 200 พันธุ์ และมีข้อมูลคุณลักษระของพันธุ์ดั้งเดิมบางส่วนแล้วจึงสามารถนำฐานพันธุกรรมที่มีศักยภาพมาใช้ประโยชน์ โดยคัดเลือกหาจุดเด่นของแต่ละพันธุ์ทั้งในด้านคุณภาพ รสชาติ กลิ่น องค์ประกอบทางเคมีด้านต่างๆ และสารสำคัญเพื่อนำมาพัฒนาเพิ่มมูลค่าและสร้างจุดขายเพื่อเพิ่มทางเลือกให้ตลาดจะเป็นการพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน นอกจากนี้สิ่งหนึ่งที่มีความจำเป็นอย่างมากคือการจัดทำข้อมูลลายพิมพ์ดีเอ็นเอของแต่ละพันธุ์ เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการปรับปรุงพันธุ์ให้ตรงตามวัตถุประสงค์ มีความแม่นยำและรวดเร็วขึ้น ดังนั้นการดำเนินการปรับปรุงพันธุ์มะม่วงทั้งเพื่อการบริโภคสุก บริโภคดิบ และอุตสาหกรรมแปรรูป จะช่วยเพิ่มทางเลือกการใช้พันธุ์ของเกษตรกร เพิ่มช่องทางเลือกของตลาด และช่วยขยายตลาดส่งออกรวมทั้งเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของมะม่วงไทยในตลาดโลกได้อย่างยั่งยืน
ไถแปร :
อื่นๆ :
วิธีปลูก :
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธี :
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :