สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : สละ

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : AGAVACEAE

สกุล (Genus) : Anacardium

ชนิด (specific epithet) : occidentale

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) :

ชนิดย่อย (Subspecies) :

พันธุ์ (Variety) : สุมาลี

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกสละจำนวนทั้งสิ้น 19 จังหวัดกระจายกันไปในแต่ละภูมิภาค โดยมีพื้นที่ปลูกรวมทั้งประเทศ 16,380 ไร่ ผลผลิตประมาณ 15,430 ตัน/ปี จำนวนผู้ปลูก 6,754 ราย ผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศอยู่ที่ 1,075 กิโลกรัม/ไร่ ราคาขายเฉลี่ยทั้งประเทศอยู่ที่ 40.63 บาท/กิโลกรัม (กรมส่งเสริมการเกษตร,2560) ทำรายได้ให้กับเกษตรกรทั่งประเทศไม่ต่ำกว่า 626.920 ล้านบาท/ปี มีแหล่งปลูกที่สำคัญอยู่ในจังหวัดจันทบุรี ระยอง ตราด สุราษฎร์ธานี พัทลุง และนราธิวาส โดยเฉพาะจังหวัดจันทบุรี มีพื้นที่ปลูกมากที่สุดโดยในปี 2559 มีพื้นที่ปลูกจำนวน 10,325 ไร่ แยกเป็นพื้นที่ยังไม่ให้ผลผลิตจำนวน 9,483 ไร่ เนื้อที่ให้ผลผลิตจำนวน 5,049 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 1,087 กิโลกรัม/ไร่ มีผลผลิตออกสู่ท้องตลาดจำนวนปีละไม่ต่ำกว่า 10,310 ตัน ราคาขายเฉลี่ย 39.15 บาท/กิโลกรัม ซึ่งสามารถทำรายได้ให้กับจังหวัดจันทบุรีเป็นเงิน 403.636 ล้านบาท/ปี พันธุ์สละที่นิยมปลูกในปัจจุบัน คือ มี 2 พันธุ์ คือสละพันธุ์สละมาลี และสละเนินวง ซึ่งสละพันธุ์สุมาลี มีลักษณะเด่น คือ เนื้อมีรสชาติหวานแหลม และมีกลิ่นหอม เมล็ดใหญ่ เนื้อหนา ราคาจำหน่ายผลสดจากสวนอยู่ที่ 60-80 บาท/กิโลกรัม ส่วนสละเนินวง มีลักษณะเด่นคือ เนื้อมีรสชาติหวานอมเปรี้ยว เนื้อหนา ผลใหญ่กว่าสละพันธุ์สละมาลี ราคาผลจำหน่ายผลอยู่ที่ 35-40 บาท/กิโลกรัม

ไถแปร :1 ครั้ง

อื่นๆ : ปรับพื้นที่ให้เรียบและขุดร่องระบายน้ำ หากมีปัญหาน้ำท่วมขัง

วิธีปลูก : ขุดหลุมปลูกให้มีขนาดกว้าง ยาว ลึก ประมาณ 30 ซม. รองก้น ก้นหลุมด้วยหินฟอสเฟส อัตรา 500 กรัม/หลุม วางต้นพันธุ์แล้ว กลบดินจนอยู่ระดับเดียวกับผิว ควรเอาดิบกลบโคนปีละ 1 ครั้ง

อัตราปลูก : ระยะปลูก4?4 เมตร 1ไร่ ปลูกได้ประมาณ 60-70 ต้น

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : ตรงตามพันธุ์ ซึ่งต้องเป็น ต้นพันธุ์ที่ได้จากการขยาย พันธุ์โดยการตักชำรากลำ ต้นแก่หรือแยกหน่อจากต้น เพศเมียเท่านั้น

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว : *นับอายุผล ควรเก็บเกี่ยวเมื่อสละมี อายุประมาณ 37 สัปดาห์หลังดอก บานผประมาณ 9 เดือน) *สังเกตุสีเปลือก จะเปลี่ยนจากสีน้ำตาล เป็นสีน้ำตาลแดงผิวเปลือกแตกเป็น ลายคล้ายเกล็ดงูชัดเจน *บีบผลแล้วรู้สึกนิ่ม *ทดสอบรสชาติโดยการชิมเป็นวิธีที่ แน่นอนที่สุด *ใช้กรรไกรหรือมีดมีคมตัดกระปุกสละ ทีละกระปุกวางในเข่งหรือตระกร้า *ขนถ่ายจากแปลงไปยังโรงเรือนคัด บรรจุด้วยความระมัดระวัง

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 หรือ16-16-16

อัตรา : อายุสละ 1-2 ปี อัตรา 2-5 กก./กอ/ปี แบ่งใส่ 2-4 ครั้ง/ปี อายุสละ 3 ปีขึ้นไป ปุ๋ยเคมีมีเรโชเท่ากับ 1:1:1 หรือ2:1:2 หรือใกล้เคียง อัตรา 1-2 กก. /ก่อ/ปี ใส่ทุกเดือนๆละ 1-2 ครั้ง โดยพิจารณาความสมบูรณ์ของต้น และผลผลิตประกอบ

โดยวิธี : หว่านรอบทรงพุ่ม

ครั้งที่ : 2

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน : ปุ๋ยคอก

อัตรา : อายุ 1-2 ปี ปุ๋ยคอก อัตรา 10-20 กก./ก่อ/ปี อายุ 3 ปีขึ้นไป ปุ๋ยคอก อัตรา 30-40 กก./ก่อ/ปี

โดยวิธี : หว่านรอบทรงพุ่ม

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

วิธี : ให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ โดยทางสปิงเกอร์

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 118

โรคพืช

วันที่ :

ชนิดสารเคมี :

อัตรา :

วันที่ :

ชนิดสารเคมี :เบนโนมิลและคาเบนดาร์ซิม

อัตรา :


แมลง ไร และศัตรูพืช

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

อัตรา :

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

อัตรา :


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : ปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี การกระจายตัวของฝนดี ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 60-70% สวนสละต้องมีการป้องกันลมโดยทำฉากป้องกันลมหรือปลูกไม้บังลมรอบแปลง

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ : การตัดแต่งทางใบ *สละที่ให้ผลผลิตแล้วควรไว้ทางใบ 15-20 ทางใบ *ไม่ควรตัดแต่งทางใบที่รองรับทะลายผลจนกว่าจะเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว *ทางใบช่วงที่มีใบตัดแล้วนำมาปูคลุมโคนโดยคว่ำหนามลงดิน การตัดแต่งหน่อและไว้กอ *หลังจากเลี้ยงหน่อได้จำนวนที่ต้องการแล้วค่อยหมั่นตัดหน่อที่ไม่ต้อง การออกทั้งหน่อข้างต้นและหน่อดิน การตัดแต่งดอก *คานดอกที่ออกมาระยะ2ปีควรตัดทิ้ง *ตัดแต่งช่อดอกในแต่ละคานให้เหลือปริมาณพอเหมาะกับความสมบูรณ์ การผสมดอก *สละต้องช่วยผสมเกสรโดยตัดช่อตัวผู้ของระกำ สะกำ หรือสละที่บาน แล้วมาเคาะใส่ช่อดอกตัวเมียที่บานแล้ว 50% ของช่อดอกขึ้นไปให้ละ อองเกสรตกลงไปผสมกับเกสรตัวเมีย *ผสมเกสรโดยใช้เกสรสำเร็จรูปที่เก็บรวบรวมไว้ผสมกับแป้งทาลคัมอัตรา 1:10 พ่นบนช่อดอกตัวเมียที่บานแล้ว 80%

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง : นายสำเริง ช่างประเสริฐ

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ศูนย์พัฒนาไม้ผลเศรษฐกิจภาคตะวันออกจังหวัดจันทบุรี

จังหวัด : จันทบุรี

อำเภอ : อำเภอขลุง

ตำบล : บ่อ

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : RCB

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 4

จำนวนซ้ำ (Replication) : 4

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) : 5 ไร่

ขนาดความกว้างแปลงย่อย : เมตร

ขนาดความยาวแปลงย่อย : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) : 500

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) : 500

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก : ดินร่วน (Loam)

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :