ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ลำไย
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : SAPINDACEAE
สกุล (Genus) : Dimocarpus
ชนิด (specific epithet) : occidentale
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Lour.
ชนิดย่อย (Subspecies) :
พันธุ์ (Variety) :
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : ประเทศไทยมีเนื้อที่ให้ผล 1,013,329 ไร่ มีผลผลิต 853,780ตัน และมีผลผลิตต่อไร่ 843 ไร่ ภาคเหนือมีเนื้อที่ 869,227 ไร่ จังหวัที่ให้ผลมากที่สุด ชียงใหม่ ลำพูนและเชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางมีเนื้อที่ให้ผลเพียงร้อยละ 4.5 และ 9.7 ของพื้นที่
ไถแปร :
อื่นๆ : ให้ไถดินลึกประมาณ 30 ซม. ตากดินไว้ 20-25 วัน พรวนย่อยดินอีก 1-2 ครั้ง และปรับระดับดินให้สม่ำเสมอ ตามแนวลาดเอียง
วิธีปลูก : ขุดหลุมปลูกขนาด 80x80x80 ซม. รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก ที่ย่อยสลายดีแล้ว 3-5 กก.ต่อหลุม โดยผสมกับหน้าดินใส่ลงหลุม พูนดินสูงจากปากหลุม 15 ซม. ก่อนปลูกทำหลุมเท่าถุงเพื่อวางชำต้นกล้า ตัดรากที่ขดงอรอบๆถุงชำต้นกล้าทิ้งไป ใช้มีดคมกรีดจากก้นถุงขึ้นมาปากถุงทั้งสองด้าน แล้วดึงถุงพลาสติกออก ระวังอย่าให้ดินแตก กลบดินให้แน่น พรางแสงให้จนกระทั่งแตกยอดอ่อน 1 ครั้ง จึงงดการพรางแสง
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ : 1
วันที่ :
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 + 46-0-0
อัตรา : สัดส่วน 1:1 อัตรา 100 กรัมต่อต้น ปีละ3 ครั้ง
โดยวิธี : 1.การให้ปุ๋ยทางดินโดยการหว่านในทรงพุ่มหรือขุดร่องลึก 10 ซม. 2. การให้ปุ๋ยทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารทีละน้อยที่เหมาะสมกับจุลธาตุอาหาร เช่น โบรอน ทองแดงและสังกะสี
ครั้งที่ : 2
วันที่ :
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : ใส่ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 + 46-0-0
อัตรา : สัดส่วน 1:1 อัตรา 1-2 กก./ต้น และเดือน พ.ย. พ่นปุ๋ยเคมีสูตร 0-52-34
โดยวิธี : 1. การให้ปุ๋ยทางดินโดยการหว่านในทรงพุ่มหรือขุดร่องลึก 10 ซม. 2. การให้ปุ๋ยทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารทีละน้อยที่เหมาะสมกับจุลธาตุอาหาร เช่น โบรอน ทองแดงและสังกะสี
ครั้งที่ : 3
วันที่ :
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : ใส่ปุ๋ยเคมี สูตร 15-15-15 + 46-0-0
อัตรา : สัดส่วน 1:1 อัตรา 1-2 กก./ต้น
โดยวิธี : 1. การให้ปุ๋ยทางดินโดยการหว่านในทรงพุ่มหรือขุดร่องลึก 10 ซม. 2. การให้ปุ๋ยทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารทีละน้อยที่เหมาะสมกับจุลธาตุอาหาร เช่น โบรอน ทองแดงและสังกะสี
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ : 1
วันที่ :
วิธี : สัปดาห์แรกหลังดอกบานพ่นน้ำพรมที่กิ่งและโคนต้นเล็กน้อยเพื่อให้ลำไยค่อยๆ ปรับตัว
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 200
ครั้งที่ : 2
วันที่ :
วิธี : สัปดาห์ที่สองหลังดอกบาน เริ่มให้น้ำเต็มที่ สำหรับต้นลำไยที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่ม 7 เมตร ให้น้ำในอัตรา 55% ของอัตราการระเหย
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 200
โรคพืช
วันที่ :
ชนิดสารเคมี :
อัตรา :ตัดกิ่งที่เป็นโรคออกเผาทำลาย ในแหล่งมีการระบาดของโรค พ่นด้วยกำมะถันผง 80% WP อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือมีอาทราซ 20% EC อัตรา 40 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร จำนวน 1-3 ครั้ง ห่างกัน 4 วัน เพื่อป้องกันกำจัดไรลำไย
วันที่ :
ชนิดสารเคมี :
อัตรา :พ่นด้วยเมทาเลกซิล 25% WP อัตรา 20-30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 1 ครั้ง ทันทีที่พบโรคที่ผล และเก็บเกี่ยวผลผลิตได้หลังพ่นสาร 10-15 วัน ส่วนโรคที่ใบในช่วงผลใบอ่อน พ่นป้องกันกำจัด เช่นเดียวกับเป็นที่ผลลำไย
แมลง ไร และศัตรูพืช
ครั้งที่ : 1
วันที่ :
อัตรา :ถ้าพบไข่ให้พ่นคาร์บาริล 85% WP อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ถ้าพบปริมาณมากเกิน 5% ของผลที่สุ่ม พ่นคลอร์ไพริฟอส/ไซเพอร์เมทริน 55% EC (นูเรลล์-L 505 EC) อัตรา 30 มล./น้ำ 20 ลิตร หรือไซฟลูทริน 5% EC อัตรา 5 มล./น้ำ 20 ลิตร ควรหยุดพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 10 วัน
ครั้งที่ : 2
วันที่ :
อัตรา :พ่นด้วย คาร์บาริล 85% WP อัตรา 45 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หยุดพ่นก่อนเก็บเกี่ยว 7 วัน
ครั้งที่ : 3
วันที่ :
อัตรา :มในสารละลายของคาร์บาริล 85%WP อัตรา 2 กรัมต่อน่ำ 1 ลิตร นาย 5 นาที นำไปแขวนในสวนเป็นจุดๆ ห่างกันจุดละ 20 เมตร ขณะผลลำไยใกล้สุก
ครั้งที่ : 4
วันที่ :
อัตรา :ช้สารฆ่าแมลง เช่น คลอร์ไพริฟอส 40% EC อัตรา 1-2 มิลลิลิตรต่อรู ฉีดเข้าในรู แล้วอุดด้วยดินเหนียว
ครั้งที่ : 5
วันที่ :
อัตรา :พ่นด้วยอิมิดาโคลพริด 10% SL อัตรา 8 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 1-2 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 7 วัน
ครั้งที่ : 6
วันที่ :
อัตรา :พ่นด้วยกำมะถันผง 80% EP อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรืออามีทราช 20% EC อัตรา 40 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น 1-3 ครั้ง ห่างกันครั้งละ 4 วัน
วัชพืช
ครั้งที่ : 1
วันที่ :
ชนิดสารเคมี :
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :