สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : สตรอเบอรี่

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : ROSACEAE

สกุล (Genus) : Fragaria x ananassa

ชนิด (specific epithet) : chisoensis

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : Dcne.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : เชียงใหม่80

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : สตรอว์เบอร์รี่เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญบนพื้นที่สูงชนิดหนึ่ง สามารถผลิตเป็นผลไม้สด และแปรรูป เป็นเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เป็นที่นิยมเป็นอย่างมาก ปัจจุบันพื้นที่ปลูกสตรอว์เบอร์รี่ลดลงเรื่อยๆ เนื่องจาก พื้นที่เดิมที่อยู่ในพื้นราบซึ่งเคยปลูกสตรอว์เบอร์รี่มาก เช่น ในเขต อ.เมือง อ.แม่ริม อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ และ อ.แม่สาย จ.เชียงราย ไม่มีการปลูกหรือเหลือน้อยมาก เนื่องจากความเจริญเข้ามา เกษตรกรได้ขายพื้นที่เพื่อสร้างเมืองใหม่กันหมด รวมทั้งขาดการพัฒนาพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ต่ำ โดยเฉพาะกรมวิชาการเกษตรไม่มีการดำเนินงานวิจัยเกี่ยวกับสตรอว์เบอร์รี่เป็นเวลามากกว่า 15 ปี ซึ่งพื้นที่ที่เหมาะสมที่จะส่งเสริมให้ปลูกได้เพิ่มขึ้นอีกหลายจังหวัด เช่น อ.เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ อ.ภูเรือ จ.เลย อ.พบพระ อ.แม่สอด จ.ตาก รวมทั้งพื้นที่เดิมที่กำลังปลูกอยู่ในปัจจุบัน เช่น จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย รวมถึงภาคอีสานตอนบน ภาคกลาง และภาคใต้ที่มีการปลูกในฤดูหนาว เช่น จังหวัดสกลนคร อ.นาแห้ว และ อ.ภูเรือ จังหวัดเลย อ.เขาค้อ และอ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ และบางพื้นที่ของ จ.กาญจนบุรี จ.ยะลา (อ.เบตง) จากข้อมูลของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร (2560) ในปี พ.ศ. 2559 มีพื้นที่ปลูกสตรอเบอรร์รี่ 486 ไร่ ปลูกจำนวน 147 ราย ใน 10 จังหวัด (เพชรบูรณ์ เชียงราย ตาก กาญจนบุรี เลย พิษณุโลก จันทบุรี นครราชสีมา ราชบุรี ลพบุรี) ผลผลิตรวม 104 ตัน ผลลผลิต/ไร่ 409 กก. ราคา 201.72 บาทต่อกิโลกรัม ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่ (2561) ขากข้อมูลจากนายสมพล แสนคำ เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ รายงานว่า สถานการณ์การปลูกสตรอว์เบอร์รี่ในเชียงใหม่ ปี 2560/61 มีพื้นที่ปลูกจำนวน 6,178 ไร่ ในเขตอำเภอ 10 อำเภอ ได้แก่ สะเมิง แม่วาง ฝาง แม่แจ่ม แม่ริม จอมทอง แม่ออน หางดง กัลยาณิวัฒนา และอำเภอเมือง มีผลผลิตเฉลี่ย 2,100 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งขณะนี้เก็บเกี่ยวผลผลิตไปแล้วประมาณ 2,064 ไร่ ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ประมาณ 4,334 ตัน ในเขตของพื้นที่อำเภอสะเมิง โดยมีการผลิตสตรอว์เบอร์รี จำนวน 4,333 ไร่ จากเกษตรกรทั้งหมด 457 ราย ในส่วนของสำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ ได้รับงบประมาณจากกรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการ โครงการพัฒนาคุณภาพมารฐานสินค้าเกษตร (GAP) และแปลงใหญ่สตรอว์เบอร์รี ซึ่งมีสมาชิก 160 ราย พื้นที่ 1,021 ไร่ โดยมีศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เป็นแหล่งเรียนรู้ในการผลิตสตรอว์เบอร์รีคุณภาพ ปี 2550-2554 ปริมาณการนำเข้าทั้งสตรอว์เบอร์รี่สดและสตรอว์เบอร์รี่แช่แข็งเพิ่มมากขึ้นทุกปี แต่การส่งออกสตรอว์เบอร์รี่ทั้งผลสดและแช่แข็งกลับมีปริมาณลดลง ในปี 2550 มีการนำเข้าสตรอว์เบอร์รี่ผลสด 334,843 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 34,554,147 บาท ในปี 2554 นำเข้า 697,119 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 106,553,089 บาท ส่วนสตรอว์เบอร์รี่แช่แข็ง ในปี 2550 นำเข้า 1,934,467 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 80,476,339.00 บาท แต่ในปี 2554 นำเข้าเพิ่มสูงขึ้นเป็น 4,819,533.00 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 212,055,560.00 บาท เมื่อเปรียมเทียบกับการส่งออกผลผลิตสตรอว์เบอร์รี่ในปี 2550-2554 กลับลดลงทุกปี กล่าวคือ ในปี 2550 มีการส่งออกผลผลิตลดปริมาณ 3,993,954 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 82,999,915 บาท แต่ในปี 2554 ส่งออกเหลือ 48,050 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่า 1,361,063 บาท เช่นเดียวกันสตรอว์เบอร์รี่แช่แข็งปี 2550 ส่งออก 211,667 กิโลกรัมคิดเป็นมูลค่า 7,753,540.00 บาท ในปี 2554 ลดลงเหลือ 68,917 กิโลกรัม คิดเป็นมูลค่าเพียง 3,150,627.00 บาท อาจเป็นสาเหตุมาจากพื้นที่การผลิตลดลง รวมทั้งปัญหาโรค แมลงศัตรูพืช ขาดพันธุ์ที่เหมาะสม และการใช้ต้นกล้า (Runner) ที่เกิดจากการขยายพันธุ์จากต้นแม่เดิมโดยไม่ได้เกิดจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมาเป็นเวลานาน ทำให้เกิดการสะสมของโรค แมลงที่สำคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาวิจัยหาพันธุ์ใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพอากาศของแต่ละพื้นที่ ศึกษาเทคโนโลยีในการผลิตต้นพันธุ์สตรอว์เบอร์รี่ปลอดโรค การลดใช้สารเคมีให้ได้ผลผลิตสตรอว์เบอร์รี่ที่สามารถบริโภคได้อย่างปลอดภัยได้ผลผลิตต่อไร่สูงและผลผลิตมีคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของผู้บริโภค สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้เพื่อเตรียมการรองรับในการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่จะเกิดขึ้นในปี 2558 ซึ่งจะต้องดำเนินงานวิจัยเกี่ยวกับการหาพันธุ์ที่เหมาะสมในแต่ละสภาพพื้นที่ ความต้องการของตลาดและผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ สร้างชุดเทคโนโลยีการผลิตเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้กับเกษตรกร

ไถแปร :1

อื่นๆ :

วิธีปลูก : หลังจากไถพรวนดิน เตรียมดินโดยผสมปุ๋ยคอก คลุกเค้าแล้วควรยกแปลงสูงประมาณ 50 เซ็นติเมตร กว้าง 70 เซนติเมตร คลุมแปลงด้วยพลาสติกดำหรือตองตึง ปลูกแบบ 2 แปลง หรือปลูกในถุงพาสติก

อัตราปลูก : 5000-6000 ต้น/ไร่

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : พระราทาน80

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว : เก็บเมื่อลูกเริ่มมีสีแดงประมาณครึ่งลูก เพื่อสะดวกต่อการขนส่งทางไกล เมื่อถึงร้านผลจะมีสีแดงสุกทั่วกันทั้งลูก

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ : รองไหลจากต้นแม่พันธุ์เตรียมไว้

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช

วันที่ :

วันที่ :


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ศูนย์วิจัย

จังหวัด : เลย

อำเภอ : อำเภอภูเรือ

ตำบล : ปลาบ่า

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) : RCB

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) : 9

จำนวนซ้ำ (Replication) : 9

จำนวนบล็อค (Block) : 4

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) : 0.5

ขนาดความกว้างแปลงย่อย : เมตร

ขนาดความยาวแปลงย่อย : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว : เมตร

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) : 30

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) : 30

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก :

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :