สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มะละกอ

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : CARICACEAE

สกุล (Genus) : Carica

ชนิด (specific epithet) : papaya

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : ฮอลแลนด์พันธุ์ศรีสะเกษ

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : มะละกอเป็นไม้ผลที่มีความสำคัญต่อการบริโภคของคนไทย มะละกอสามารถบริโภคได้ทั้งผลดิบและผลสุก โดยเฉพาะผลดิบเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคเพื่อทำส้มตำซึ่งเป็นตลาดบริโภคที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ สำหรับมะละกอดิบมีความต้องการของตลาดสูง การปลูกมะละกอเพื่อเก็บผลดิบมาจำหน่ายใช้เวลาไม่นานเพียง 4-6 เดือน หลังจากย้ายปลูกก็สามารถเก็บผลผลิตได้ สำหรับพันธุ์ที่นิยมปลูกเพื่อทำส้มตำส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์แขกนวล และพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง ทำให้มีความแปรปรวนในสายพันธุ์ค่อนข้างสูง ผลมะละกอสุกใช้บริโภคสดและมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมแปรรูปหลายชนิด เช่น บรรจุกระป๋องทำ fruit salad แช่อิ่ม อบแห้ง และดองเค็ม เป็นต้น โดยผลผลิตมะละกอมากกว่าร้อยละ 90 ใช้บริโภคภายในประเทศ และเป็นไม้ผลที่ไม่มีปัญหาด้านผลผลิตเกินความต้องการของตลาด มะละกอเพื่อการบริโภคสุกผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความต้องการมะละกอที่มีรสชาติหวาน เนื้อไม่เละ เนื้อสีแดงจะได้รับความนิยมกว่าเนื้อสีเหลือง สำหรับขนาดผลนั้นมีตั้งแต่มากกว่า 1 กิโลกรัมขึ้นไป เช่น พันธุ์แขกดำ พันธุ์ Redlady พันธุ์ฮอลแลนด์ เป็นต้น ส่วนพันธุ์ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 1 กิโลกรัม เช่น พันธุ์ขอนแก่น 80 และ พันธุ์ฮาวาย เป็นพันธุ์ที่เกษตรกรปลูกเพื่อส่งตลาดต่างประเทศและตลาดเฉพาะ (Niche market) สำหรับมะละกอเพื่ออุตสาหกรรมการแปรรูปมีความต้องการเนื้อสีแดงและสีเหลือง น้ำหนักผลมากกว่า 0.8 กิโลกรัมขึ้นไป มีความหนาเนื้อ 2 เซนติเมตรขึ้นไป (สิริกุลและคณะ, 2552) พันธุ์มะละกอที่โรงงานรับซื้อส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่ใช้สำหรับการบริโภคสุก ซึ่งพันธุ์มะละกอบริโภคสุกและจำหน่ายในตลาดมีเพียงไม่กี่พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์แขกดำ และพันธุ์ปลักไม้ลาย ดังนั้นการพัฒนามะละกอพันธุ์ใหม่สำหรับการบริโภคผลดิบและผลสุก รวมทั้งการเพิ่มลักษณะอื่นๆ เช่น ความต้านทานโรคจุดวงแหวน พันธุ์ที่มีอายุการวางจำหน่ายนาน จะเป็นทางเลือกให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกมะละกอต่อไป มะละกอเป็นไม้ผลที่มีความสำคัญต่อการบริโภคของคนไทย มะละกอสามารถบริโภคได้ทั้งผลดิบและผลสุก โดยเฉพาะผลดิบเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคเพื่อทำส้มตำซึ่งเป็นตลาดบริโภคที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ สำหรับมะละกอดิบมีความต้องการของตลาดสูง การปลูกมะละกอเพื่อเก็บผลดิบมาจำหน่ายใช้เวลาไม่นานเพียง 4-6 เดือน หลังจากย้ายปลูกก็สามารถเก็บผลผลิตได้ สำหรับพันธุ์ที่นิยมปลูกเพื่อทำส้มตำส่วนใหญ่จะเป็นพันธุ์แขกนวล และพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่จะเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เอง ทำให้มีความแปรปรวนในสายพันธุ์ค่อนข้างสูง ผลมะละกอสุกใฃ้บริโภคสดและมีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมแปรรูปหลายชนิด เช่น บรรจุกระป๋องทำ fruit salad แช่อิ่ม อบแห้ง และดองเค็ม เป็นต้น โดยผลผลิตมะละกอมากกว่าร้อยละ 90 ใช้บริโภคภายในประเทศ และเป็นไม้ผลที่ไม่มีปัญหาด้านผลผลิตเกินความต้องการของตลาด มะละกอเพื่อการบริโภคสุกผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความต้องการมะละกอที่มีรสชาติหวาน เนื้อไม่เละ เนื้อสีแดงจะได้รับความนิยมกว่าเนื้อสีเหลือง สำหรับขนาดผลนั้นมีตั้งแต่มากกว่า 1 กิโลกรัมขึ้นไป เช่น พันธุ์แขกดำ พันธุ์ Redlady พันธุ์ฮอลแลนด์ เป็นต้น ส่วนพันธุ์ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 1 กิโลกรัม เช่น พันธุ์ขอนแก่น 80 และ พันธุ์ฮาวาย เป็นพันธุ์ที่เกษตรกรปลูกเพื่อส่งตลาดต่างประเทศและตลาดเฉพาะ (Niche market) สำหรับมะละกอเพื่ออุตสาหกรรมการแปรรูปมีความต้องการเนื้อสีแดงและสีเหลือง น้ำหนักผลมากกว่า 0.8 กิโลกรัมขึ้นไป มีความหนาเนื้อ 2 เซนติเมตรขึ้นไป (สิริกุลและคณะ, 2552) พันธุ์มะละกอที่โรงงานรับซื้อส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ที่ใช้สำหรับการบริโภคสุก ซึ่งพันธุ์มะละกอบริโภคสุกและจำหน่ายในตลาดมีเพียงไม่กี่พันธุ์ ได้แก่ พันธุ์แขกดำ และพันธุ์ปลักไม้ลาย ดังนั้นการพัฒนามะละกอพันธุ์ใหม่สำหรับการบริโภคผลดิบและผลสุก รวมทั้งการเพิ่มลักษณะอื่นๆ เช่น ความต้านทานโรคจุดวงแหวน พันธุ์ที่มีอายุการวางจำหน่ายนาน จะเป็นทางเลือกให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกมะละกอต่อไป

ไถแปร :

อื่นๆ :

วิธีปลูก :

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : 1. อุณหภูมิ อุณหภูมิ : 21-30 องศาเซลเซียส 2. แสงแดด : ไม่ต่ำกว่า 5 ชม/วัน 3. ปริมาณฝนอยู่ประมาณ 800-1,200 มม./ปี 4. ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ :70-85 %RH 5. ลม ความเร็วลมไม่เกิน 60 กิโลเมตร/ชั่วโมง 6. ความสูงจากระดับน้ำทะเล ไม่เกิน 200 เมตรจากระดับน้ำทะเล

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก : ดินร่วนปนทราย (Sandy Loam)

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) : 5.5-6.5

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :