สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่

ข้อมูลพืชสวน 

รายงานข้อมูลพืช

กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชผัก

ชื่อพืช (PlantName)

ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : พริกขี้หนูผลใหญ่

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)

วงศ์ (Family) : SOLANACEAE

สกุล (Genus) : Capsicum

ชนิด (specific epithet) : frutescens

ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : L.

ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ

พันธุ์ (Variety) : พริกขี้หนูผลใหญ่ ศรีสะเกษ 1

ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :

ชื่อการทดลอง :

ลักษณะทางเกษตร :

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :

สถานการณ์พืช : พริกขี้หนูผลใหญ่ (Chili, Capsicum spp.) อยู่ในตระกูล Solanaceae เป็นพืชผักที่สำคัญทางเศรษฐกิจ มีการปลูกเป็นการค้าและมีการส่งออกไปยังต่างประเทศ

ไถแปร :1

อื่นๆ : ไถดะและไถแปร จำนวน 2 ครั้ง ตากดินทิ้งไว้ 1-2 สัปดาห์ เพื่อทำลายวัชพืชแมลงศัตรูพริกที่อยู่ในดิน ควรใส่ปุ๋ยคอกอัตรา 1-2 ตัน/ไร่ และถ้าดินเป็นกรดควรหว่านปูนขาว ปูนมาร์ล หรือ โดโลไมท์ อัตรา 150-200 กิโลกรัม/ไร่ จากนั้นใช้รถไถติดอุปกรณ์ปั่นย่อยดิน 2-3 ครั้ง แล้วจึงใช้รถไถเดินตามคราดปรับดินให้เรียบ ทำการปรับดินให้เรียบและย่อยดินให้มีความละเอียดยิ่งขึ้น ควรทำการไถในตอนเช้า ตากดินทิ้งไว้ แล้วช่วงบ่ายจึงค่อยคราดปรับและย่อยดินทำการไถ-คราดดินสลับกันเช่นนี้ 4-5 ครั้ง จนดินมีความละเอียดร่วนซุยและราบเรียบ

วิธีปลูก : เมื่อต้นกล้าอายุ 45 วัน หรือมีใบจริง 2 ใบก่อนปลูกทำการหยอดน้ำที่หลุมปลูกให้ดินชุ่มน้ำ จากนั้นขุดหลุมปลูกกประมาณ 2-3 นิ้ว แล้วจึงนำต้นกล้าพริกที่ได้เตรียมไว้มาปลูกอัตรา 1 ต้นต่อหลุม วางต้นพริกให้ตั้งตรง กดดินที่โคนต้นพริกให้แน่น ควรปลูกช่วงตอนบ่าย เพื่อให้ต้นกล้าฟื้นตัวในเวลากลางคืน

อัตราปลูก :

พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : พริกขี้หนูผลใหญ่ ศรีสะเกษ 1

วันปลูก :

วันงอก :

วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :

วันที่ออกดอก :

วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :

การเก็บเกี่ยว :

การจัดการส่วนขยายพันธุ์

สารที่ใช้ :

อัตรา :

วิธีการ :

ตารางการใส่ปุ่ย

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน :

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา :

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 1

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : ภายหลังการปลูก 2 สัปห์ดา ควรใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 2

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : เมื่ออายุ 4-8 สัปดาห์ ใส่ปุ๋ย 15-15-15 อัตรา 25-50 กิโลกรัมต่อไร่

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 3

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : เมื่อเริ่มออกดอก ให้ใส่8-24-24 หรือ 9-25-25 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ และอาจเสริมด้วยปุ๋ยหมัก 300-500 กิโลกรัมต่อไร่ หรือต้นละ 1 กิโลกรัม จนติดผล

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 4

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : ให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 25-50 กิโลกรัมต่อไร่ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง จนกระทั้งเก็บเกี่ยว

โดยวิธี :

ครั้งที่ : 5

วันที่ :

ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย

สูตร/ชนิดฮอร์โมน :

อัตรา : การใส่ปุ๋ยหลังเก็บเกี่ยว 25-50 กิโลกรัม ต่อครั้ง ทุก 2-4 สัปดาห์ ในพื้นที่เป็นดินทรายมีอาการขาดธาตุแคลเซียม-โบรอน อาจฉีดพ่นสารทางใบเสริมอาการขาดธาตุดังกล่าว ตามอัตราการใช้ที่แนะนำข้างฉลาก

โดยวิธี :

วิธีการให้น้ำ

ครั้งที่ :

วันที่ :

วิธี :

ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :

โรคพืช


แมลง ไร และศัตรูพืช


วัชพืช


ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : 1. อุณหภูมิ ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส หากต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส อาจชะงักการเจริญเติบโต และหากสูงกว่า 40 องศาเซลเซียส อาจมีผลทำให้ดอกร่วง ติดผลได้น้อย 2. เเสง ได้รับแสงอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมงต่อวัน 3. ปริมาณน้ำฝน 1000 มม./ปี (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 4. ความชื้นในอากาศ ไม่น้อยกว่า 65 % 5. ลม ค่าเฉลี่ยต่อปี ทิศ NE 3 นอต , SW 1 นอต (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) 6. ระดับความสูงจากน้ำทะเลปานกลาง 127 เมตร (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)

เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :

ข้อมูลอื่นๆ :

ข้อมูลอื่นๆ :


ข้อมูลการทดลอง

ข้อมูลผู้ทดลอง :

ฤดูปลูก-ปี :

ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :

จังหวัด :

อำเภอ :

ตำบล :

พื้นที่ลาดเอียง :

พิกัด X :

พิกัด Y :

การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :

จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :

จำนวนซ้ำ (Replication) :

จำนวนบล็อค (Block) :

ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :

ขนาดความกว้างแปลงย่อย :

ขนาดความยาวแปลงย่อย :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :

ระยะการปลูก

ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :

ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :

ระยะการปลูก

ข้อมูลอื่น :

ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :

พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :

ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :

การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :

ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :

วันที่ปลูก :

วันที่ออกดอก :

วันที่เก็บเกี่ยว :

ชนิดของดินที่ปลูก

ชนิดของดินที่ปลูก : ดินร่วนเหนียวปนทราย (Sandy Clay Loam)

การวิเคราะห์ดิน

ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :

อินทรีวัตถุ (%) :

ฟอสฟอรัส (mg/kg) :

โพแทสเซียม (mg/kg) :

ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :

ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม

Ca (mg/kg) :

Fe (mg/kg) :

Mo (mg/kg) :

Mg (mg/kg) :

Zn (mg/kg) :

Mn (mg/kg) :

S (mg/kg) :

B (mg/kg) :

Cu (mg/kg) :