ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : ไม้ผล
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ลำไย
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : SPINDACEAE
สกุล (Genus) : Dimocarpus
ชนิด (specific epithet) : D. longan
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) :
ชนิดย่อย (Subspecies) :
พันธุ์ (Variety) :
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : สถานการณ์ลำไย ลำไย เป็นพืชไม้ผลเขตร้อนและกึ่งร้อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นสีนาตาล ออกดอกเป็นช่อ สีขาวครีม ผลทรงกลมเป็นช่อ ผลดิบเปลือกสีนาตาลอมเขียว ผลสุกสีน้ำตาลล้วน เนื้อลำไยสีขาวหรือชมพูอ่อน เมล็ดสีดำเป็นมัน เนื้อล่อนเม็ด พันธุ์ลำไย ลำไยนั นปลูกในหลายประเทศ แหล่งปลูกขนาดใหญ่คือประเทศจีนมีการปลูกลาไยถึง 26 สายพันธุ์ โดยส่วนมากปลูกในมณฑลกวางตุ้ง 12 สายพันธุ์ ปลูกในประเทศไต้หวันอีก 15 สายพันธุ์ ปลูกในสหรัฐอเมริกา 1 สายพันธุ์ คือพันธุ์โคฮาลา และในประเทศเวียดนาม ซึ่งมีแหล่งปลูกลาไยขนาดใหญ่ไม่แพ้จากประเทศจีน โดยมักมักปลูกในเวียดนามทางตอนเหนือที่มีอากาศหนาวเย็น โดยพันธุ์ลำไยของเวียดนามนั้นนำเข้ามาจากประเทศจีน ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ทนได้ในอากาศเย็นจัดจนถึงจุดเยือกแข็ง ซึ่งต่างจากลำไยของประเทศไทยเกิดการกลายพันธุ์เป็นลำไยเมืองร้อน สามารถทนอุณหภูมิสูงได้ถึง 40-43 องศาในฤดูร้อน พันธุ์การค้าที่สำคัญ : อีดอ, พวงทอง, สีชมพู, แห้ว พันธุ์อีดอ เป็นลำไยพันธุ์เบาคือออกดอกและเก็บผลก่อนพันธุ์อื่นชาวสวนนิยมปลูกมากที่สุดเพราะเก็บเกี่ยวได้ก่อนทำให้ได้ราคาดีตลาดต่างประเทศนิยมบริโภค สามารถจำหน่ายทั้งผลสดและแปรรูปทั้งลำไยกระป๋องและลำไยอบแห้งขนาดผลค่อนข้างใหญ่ทรงกลมแป้นเบี้ยวยกบ่าข้างเดียวผิวสีนาตาลมีกระหรือตาห่างสีน้ำตาลเข้มเนื้อค่อนข้างเหนียวสีขาวขุ่นปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำ 20 Brix เมล็ดขนาดใหญ่ปานกลางรูปทรงกลมแบนเล็กน้อย พันธุ์พวงทอง เป็นพันธุ์ที่มีช่อดอกขนาดใหญ่ ขนาดผลกว้าง 2.5 เซนติเมตร หนา 2.3 เซนติเมตร สูง 2.4 เซนติเมตร ผลทรงค่อนข้างกลมและเบี้ยวเล็กน้อยผิวสีน้ำตาลมีกระสีน้ำตาล เนื้อหนา กรอบ สีขาวครีม รสหวาน ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำประมาณ 22 Brix พันธุ์สีชมพู เป็นลำไยพันธุ์กลางเป็นพันธุ์ที่มีคุณภาพดีเยี่ยมรสชาติหวานกรอบกลิ่นหอมเหมาะสำหรับรับประทานสด ผลทรงค่อนข้างกลม เบี้ยวเล็กน้อย สีนาตาลอมแดง ผิวเรียบ มีกระสีคล้ำตลอดผล เปลือกหนา แข็งและเปราะเนื้อหนาปานกลางนิ่มและกรอบ สีชมพูเรื่อๆ ยิ่งผลแก่จัด สีของเนื้อยิ่งเข้ม เนื้อล่อนรสหวาน กลิ่นหอมปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำประมาณ 21-22 Brix เมล็ดค่อนข้างเล็ก พันธุ์แห้ว เป็นลำไยพันธุ์หนัก ลำต้นไม่ค่อยแข็งแรง กิ่งเปราะหักง่าย ผลทรงกลมเบี้ยว ฐานผลบุ๋ม ผิวสีน้ำตาล มีกระสีคล้ำตลอดผล เมื่อจับรู้สึกสากมือ เปลือกหนามาก เนื้อหนาแน่น แห้งและกรอบ สีขาวขุ่น รสหวานแหลม กลิ่นหอม มีนาปานกลาง เมล็ดขนาดค่อนข้างเล็ก สถานการณ์การผลิตและการตลาดโลก : แหล่งปลูกลำไยที่สำคัญของโลกได้แก่ ไทย จีน เวียดนามและไต้หวัน นอกจากนี้ ก็มีปลูกบ้างในบางมลรัฐของออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยมีคู่แข่งในตลาดโลกที่สำคัญได้แก่ จีน เวียดนามและไต้หวัน (ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2562) สถานการณ์การผลิตและการตลาดของไทย ด้านการผลิต -พื้นที่ปลูก : 1,200,879 ไร่ -แหล่งปลูกที่สาคัญ : เชียงใหม่, ลำพูน,จันทบุรี, เชียงราย, พะเยา -ผลผลิตรวม : 1,022,927 ตัน -ผลผลิตเฉลี่ย/ไร่ : 873 กิโลกรัม -ต้นทุนการผลิต : 11,150 บาท/ตัน (ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2562) ด้านการตลาด -การใช้ในประเทศ (สด/ผลิตภัณฑ์) : 55,000 ตัน -การส่งออก (สด/ผลิตภัณฑ์) : 771,385 ตัน (ที่มา: สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 2562)
ไถแปร :
อื่นๆ : สามารถขึ้นได้ดีในดินแทบทุกชนิด แต่ที่เจริญเติบโตได้ดี คือ ดินร่วนปนทราย และดินตะกอน และควรมีหน้าดินลึก การระบายน้ำดี ค่า pH = 6
วิธีปลูก :
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธี :
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา : อุณหภูมิที่สามารถเจริญเติบโตได้อยู่ระหว่าง 4 - 30 องศาเซลเซียส และต้องการอุณหภูมิต่ํา (10 - 20 องสาเซลเซียส) ในฤดูหนาวเพื่อการออกดอก มีแสงแดดส่องตลอดเวลา เฉลี่ยประมาณ 1,250 มิลลิเมตรต่อปี และมีการกระจายตัวของฝนดีประมาณ 100-150 วันต่อปี ไม่เป็นพื้นที่ที่มีลมกรรโชกแรง เพราะจะทำให้ลำไยโค่นล้ม กิ่งฉีกหักเสียหาย ทำให้ความสมบูรณ์ของต้นลดลง ทำให้ปริมาณของผลผลิตลดลง ลําไยสามารถปลูกได้ดีในที่ราบลุ่มจนถึงพื้นที่สูงกว่า ระดับน้ําทะเล1000 เมตร
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :