ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : สมุนไพรและเครื่องเทศ
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : ขิง
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : ZINGIBERACEAE
สกุล (Genus) : Zingiber
ชนิด (specific epithet) : officinale
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) :
ชนิดย่อย (Subspecies) :
พันธุ์ (Variety) :
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : ขิง (Ginger) เป็นพืชล้มลุก นิยมนำมาใช้ในด้านปรุงอาหาร สมุนไพร และการแพทย์ ขิงเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของโลก จึงเป็นพืชที่มีศักยภาพในการส่งออก การผลิตขิงของเกษตรกรเพื่อการส่งออกมี 2 แบบ คือ การผลิตขิงอ่อน เพื่อส่งโรงงานแปรรูปเป็นขิงดอง และการผลิตขิงแก่ เพื่อจำหน่ายในรูปขิงสด บรรจุกล่อง หรือถุงตาข่ายส่งขายไปยังตลาดต่างประเทศ ในปี 2554 ประเทศไทยมีปริมาณการส่งออก 24,291 ตัน คิดเป็นมูลค่า 502 ล้านบาท ปี 2555 มีปริมาณการส่งออก 27,655 ตัน คิดเป็นมูลค่า 676 ล้านบาท และในปี 2556 มีปริมาณการส่งออกเพิ่มขึ้นเป็น 40,042 ตัน คิดเป็นมูลค่า มากกว่าพันล้านบาทจากสถิติการส่งออกจะเห็นว่าการผลิตขิงเพื่อการส่งออกมีปริมาณเพิ่มขึ้นทุกปี ดังนั้นการพัฒนาคุณภาพของขิงเพื่อการส่งออกเป็นสิ่งสำคัญ แต่การพัฒนาการผลิตขิงประสบปัญหาสำคัญที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก คือขิงที่ผลิตได้ส่วนใหญ่คุณภาพยังไม่ได้มาตรฐานทั้งในการผลิตขิงอ่อน และขิงแก่ เนื่องจากขาดความรู้ในเทคโนโลยีในการจัดการการผลิต รวมทั้งปัญหาสำคัญที่ทำความเสียหายให้แก่ผู้ผลิตขิงเป็นอย่างมาก คือโรคเหี่ยวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearumซึ่งเชื้อสาเหตุของโรคนี้ทำให้การผลิตขิงของไทยเกิดความเสียหายอย่างรุนแรง เนื่องจากเชื้อสามารถอาศัยอยู่ในดินได้เป็นเวลานาน และยังติดไปกับหัวพันธุ์ ซึ่งจุดนี้เป็นปัญหาที่สำคัญต่อการผลิตทั้ง ขิงอ่อน และขิงแก่การที่หัวพันธุ์ขิงเป็นโรคทำเกิดการระบาดของโรคในแหล่งปลูก ผลผลิตเสียหาย จะมีการระบาดอย่างรวดเร็วจนบางครั้งไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ และดังนั้นการใช้หัวพันธุ์ขิงดีปลอดโรค ร่วมกับเทคโนโลยีการผลิตที่ดี น่าจะเป็นวิธีการที่จะสามารถพัฒนาการผลิตขิงของไทยให้มีคุณภาพดี มีมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด จากการศึกษาเทคโนโลยีการผลิตขิงคุณภาพในปี 2554 – 2559 ได้ดำเนินการศึกษา ในเรื่องเทคโนโลยีการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรคและเทคโนโลยีการผลิต ได้ศึกษาการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรคด้วยการเพราะเลี้ยงเนื้อเยื่อ และทำการศึกษาจนได้หัวพันธุ์ขิงปลอดโรค G1 ในปี 2557 และจะได้ G2 ในปี 2558 แต่ยังเป็นหัวพันธุ์ขนาดเล็กการจะถ่ายทอดให้เกษตรกรนำไปปลูกจะต้องหัวพันธุ์ปริมาณมาก ต้นทุนการผลิตยังมีราคาสูง จึงควรมีการศึกษาการผลิตหัวพันธุ์ขิงปลอดโรคให้ได้หัวพันธุ์ขิงในขนาด ที่จะให้ผลผลิตสูงและมีต้นทุนที่ต่ำลงและเกษตรกรสามารถที่จะเป็นผู้ผลิตหัวพันธุ์ได้ นอกจากนี้การศึกษาถึงเทคโนโลยีการผลิตจากปีที่ผ่านมาทำให้ได้เทคโนโลยีในด้านต่างๆที่มีผลการศึกษาที่ได้ผลดี มาทำการศึกษาหาชุดเทคโนโลยีการผลิตขิงอ่อนที่จะเป็นแนวทาง และสามารถถ่ายทอดให้แก่เกษตรกรต่อไป
ไถแปร :
อื่นๆ :
วิธีปลูก :
อัตราปลูก :
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ :
วันปลูก :
วันงอก :
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม :
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก :
การเก็บเกี่ยว :
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ :
อัตรา :
วิธีการ :
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ :
วันที่ :
วิธี :
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) :
โรคพืช
แมลง ไร และศัตรูพืช
วัชพืช
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลอื่นๆ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง :
ฤดูปลูก-ปี :
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย :
จังหวัด :
อำเภอ :
ตำบล :
พื้นที่ลาดเอียง :
พิกัด X :
พิกัด Y :
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข :
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา :
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) :
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา :
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด :
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก :
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) :
อินทรีวัตถุ (%) :
ฟอสฟอรัส (mg/kg) :
โพแทสเซียม (mg/kg) :
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) :
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) :
Fe (mg/kg) :
Mo (mg/kg) :
Mg (mg/kg) :
Zn (mg/kg) :
Mn (mg/kg) :
S (mg/kg) :
B (mg/kg) :
Cu (mg/kg) :