ข้อมูลพืชสวน
กลุ่มพืช(Group)/ชื่อพืช : พืชผัก
ชื่อพืช (PlantName)
ชื่อไทย(Thai Name/Vernacular name) : มันเทศ
ชื่อวิทยาศาสตร์ (Sciencetific Name)
วงศ์ (Family) : CONVOLVULACEAE
สกุล (Genus) : Ipomoea
ชนิด (specific epithet) : batatas
ชื่อผู้ตั้ง (Author name) : (L.) Lamk.
ชนิดย่อย (Subspecies) : ไม่ได้ระบุ
พันธุ์ (Variety) : มันเทศ พันธุ์พิจิตร 1
ทดสอบเพิ่มฟืลด์ :
ชื่อการทดลอง :
ลักษณะทางเกษตร :
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
สถานการณ์พืช : สถานการณ์การผลิตมันเทศ มันเทศ (sweet potato) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ipomoea batatas (L.) Lam. โดยในปี 2562 ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกมันเทศรวมทั้งประเทศ 24,194.50 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 14,744 ไร่ ผลผลิต 37,465.86 ตัน ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย 8.67 บาท/กิโลกรัม โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมันเทศสูงสุด 5 จังหวัดแรก คือ 1. ตราด มีพื้นที่เพาะปลูก 6,121 ไร่ 2. สระแก้ว มีพื้นที่เพาะปลูก 4,320 ไร่ 3. สุพรรณบุรี มีพื้นที่เพาะปลูก 2,395 ไร่ 4. นครศรีธรรมราช มีพื้นที่เพาะปลูก 1,717 ไร่ และ 5. อุบลราชธานี มีพื้นที่เพาะปลูก 917.25 ไร่ ปี 2563 ประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกมันเทศรวมทั้งประเทศ 32,458.90 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 20,462.50 ไร่ ผลผลิต 56,305.84 ตัน ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย 13.54 บาท/กิโลกรัม โดยจังหวัดที่มีพื้นที่ปลูกมันเทศสูงสุด 5 จังหวัดแรก คือ 1. สระแก้ว มีพื้นที่เพาะปลูก 7,194 ไร่ 2. ตราด มีพื้นที่เพาะปลูก 6,319 ไร่ 3. ฉะเชิงเทรา มีพื้นที่เพาะปลูก 4,470 ไร่ 4. นครศรีธรรมราช มีพื้นที่เพาะปลูก 2,669.90 ไร่ และ 5. สุพรรณบุรี มีพื้นที่เพาะปลูก 2,273.75 ไร่ จะเห็นได้ว่า ในปี 2563 พื้นที่เพาะปลูกมันเทศ เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.16 จากปี 2562 ส่งผลให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.29 และราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.17
ไถแปร :1 ครั้ง
อื่นๆ : ตากดิน 7-10 วัน ยกแปลงปลูกเป็นรูปสามเหลี่ยม หรือ แบบลูกฟูกหลังคาบ้าน มีวิธีทำได้ 3 วิธี คือ 1.ใช้แรงคน 2. ใช้แรงสัตว์ 3. ใช้รถแทรกเตอร์ ขึ้นแปลงสูง 45-60 เซนติเมตร ระยะห่างร่อง 1 เมตร ถ้าใช้เครื่องจักรจะเตรียมแปลงได้วันละ 10 ไร่
วิธีปลูก : ถ้าใช้ส่วนยอดยาว 30 เซนติเมตร จะลงหัวมันเทศได้ดี และหลีกเลี่ยงแมลงได้ดี การปลูกที่ดีที่สุดใช้วิธีนำยอดพันธุ์มันเทศ จำนวน 1 หยอด ปลูกในแนวนอนขวางแปลง ให้ส่วนข้ออยู่ใต้ดิน 4-6 ข้อ โดยให้ส่วนยอดพันธุ์และโคนเถาโผล่พ้นดิน หรือเรียกว่าแบบโผล่ท้าย ซึ่งให้ผลดีที่สุด
อัตราปลูก : 1 x 1 เมตร ใช้ยอด 1600 เถา / ไร่
พันธ์และท่อนพันธ์ที่ใช้ : มี 5 วิธี คือ 1.ใช้เมล็ด 2. ใช้ลำต้นหรือเถา 3. แยกหน่อจากหัว 4.ใช้หัวมันเทศ 5. ปักชำเถาเป็นข้อ ๆ ซึ่งวิธีที่ 2 นิยมใช้ทั่วไป คือนำมาตัดเป็นท่อน ๆ ยาว 25-40 เซนติเมตร
วันปลูก : 6/1/2021 12:00:00 AM
วันงอก : 6/15/2021 12:00:00 AM
วันปลูกซ่อมหรือย้ายกล้าซ่อม : 6/16/2021 12:00:00 AM
วันที่ออกดอก :
วันที่สามารถเก็บเกี่ยวได้ครั้งแรก : 9/30/2021 12:00:00 AM
การเก็บเกี่ยว : การเก็บเกี่ยวมันเทศจะช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับพันธุ์และสภาพแวดล้อม ดดยทั่วไป ประมาณ 90-150 วันหลังจากปลูก ถ้ามีรอยดินแตกแยกที่โคนต้นและมองเห็นหัวมันเทศ แสดงว่าเริ่มแก่เก็บเกี่ยวผลผลิตได้ หรือจะทดลองขุดดู 2-3 หลุม หรือจะใช้มีดตัวหัวมันเทศดูยางว่ายางไหลน้อย แห้งเร็วหรือไม่ ถ้าใช่แสดงว่าพร้อมเก็บเกี่ยว
การจัดการส่วนขยายพันธุ์
สารที่ใช้ : คาร์โบซัลแฟน เช่น พอสซ์หรือมาร์แชล
อัตรา : 60 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร
วิธีการ : จุ่มยอดพันธุ์มันเทศลงในสารคาร์โบซัลแฟน นาน 5-10 นาที ก่อนปลูก
ตารางการใส่ปุ่ย
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 6/1/2021 12:00:00 AM
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 13-13-21
อัตรา : 40-50 กิโลกรัม ต่อ ไร่
โดยวิธี : รองก้นหลุม ก่อนปลูก
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 7/15/2021 12:00:00 AM
ปุ๋ย/ฮอร์โมน : ปุ๋ย
สูตร/ชนิดฮอร์โมน : 13-13-21
อัตรา : 40-50 กิโลกรัม ต่อ ไร่
โดยวิธี : หยอดข้างหลุม โดยใช้ไม้ไผ่ หรือ ด้ามจอบ แทงเป็นหลุมเล็ก ๆ หยอดปุ๋ยแล้วกลบ
วิธีการให้น้ำ
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 6/1/2021 12:00:00 AM
วิธี : บัวรด
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 6/4/2021 12:00:00 AM
วิธี : บัวรด
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 3
วันที่ : 6/11/2021 12:00:00 AM
วิธี : บัวรด
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 4
วันที่ : 6/26/2021 12:00:00 AM
วิธี : บัวรด
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 5
วันที่ : 7/20/2021 12:00:00 AM
วิธี : บัวรด
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 1
ครั้งที่ : 6
วันที่ : 8/15/2021 12:00:00 AM
วิธี : สปริงเกลอ
ปริมาณน้ำ(มิลิลิตร) : 3
โรคพืช
วันที่ : 6/7/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :สารแคปตาฟอล (ไดโฟลาแทน หรือ แมนโคเซ็บ) เช่น ไดเทนเอ็ม-45
อัตรา :20-40 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร
แมลง ไร และศัตรูพืช
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 6/1/2021 12:00:00 AM
อัตรา :4-5 กรัม ต่อหลุม ก่อนปลูก
ครั้งที่ : 2
วันที่ : 6/30/2021 12:00:00 AM
อัตรา :60 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร
ครั้งที่ : 3
วันที่ : 7/20/2021 12:00:00 AM
อัตรา :60 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น จำนวน 300 มิลลิลิตร ต่อ ต้น
ครั้งที่ : 4
วันที่ : 8/15/2021 12:00:00 AM
อัตรา :60 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่น จำนวน 300 มิลลิลิตร ต่อ ต้น
วัชพืช
ครั้งที่ : 1
วันที่ : 6/3/2021 12:00:00 AM
ชนิดสารเคมี :แลสโซ หรือ อาลาเน็ด
ข้อมูลกรมอุตนิยมวิทยา :
การรับรองพันธุ์พืช/การขึ้นทะเบียนพันธุ์พืช
เอกสารการรับรองพันธุ์/การขึ้นทะเบียนพัน :
ข้อมูลอื่นๆ : การตลบเถามันเทศ หลังปลูก 1-2 เดือน เนื่องจากเถามันเทศจะมีการแตกรากใหม่ขึ้นที่ส่วนข้อ หากปล่อยไว้นานๆ จึงต้องมีการตลบเถาป้องกันการเกิดรากที่ข้อ ทุก ๆ เดือน เพราะการเกิดรากที่ข้อจะมีผลให้ส่วนหัวที่อยู่ที่โนต้น ลงหัวได้น้อย และมีขนาดเล็กลง การปลูกมันเทศในฤดูฝนควรมีการตัดยอด หลังปลูก 1 เดือน ต้นละ 2 ยอดต่อครั้ง และทำทุก ๆ 20-25 วัน ครั้งต่อไป
ข้อมูลอื่นๆ : วัชพืช เป็นพืชที่ขึ้นมาแย่งน้ำ อาหาร ในแปลงปลูกมันเทศอีกทั้งเป็นที่อยู่อาศัยของโรค แมลง ศัตรู และหนูที่ทำลายผลผลิตของมันเทศอีกด้วย ซึ่งถ้าผู้ปลูกมันเทศ ไม่มีการกำจัดวัชพืชหรือหญ้าอื่นใด จะทำให้มันเทศมีการลงหัวได้น้อย จึงควรกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกมันเทศ เดือนละ 1-2 ครั้ง ถ้าพื้นที่ปลูกมากกว่า 10 ไร่ ควรใช้สารเคมีคุมวัชพืช หลังปลูกแล้ว 1 วัน คุมการงอก หรือตลบเถามันเทศ แล้วพ่นสารฆ่าหญ้า ตามแนวทางเดิน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ข้อมูลการทดลอง
ข้อมูลผู้ทดลอง : รักชัย คุรุบรรเจิดจิต (การปรับปรุงพันธุ์มันเทศเพื่อการบริโภค และอุตสาหกรรม)
ฤดูปลูก-ปี : 2557-2561
ไร่เกษตรกร/ศูนย์วิจัย : ศูนย์วิจัยพืชสวนสุโขทัย
จังหวัด : สุโขทัย
อำเภอ : อำเภอศรีสัชนาลัย
ตำบล : ท่าชัย
พื้นที่ลาดเอียง : 4
พิกัด X : 0
พิกัด Y : 0
การวางแผนการทดลอง (Experimental design) :
จำนวนกรรมวิธี (Treatment) :
จำนวนซ้ำ (Replication) :
จำนวนบล็อค (Block) :
ขนาดแปลง (ตารางเมตร (ไร่)) :
ขนาดความกว้างแปลงย่อย :
ขนาดความยาวแปลงย่อย :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
จำนวนต้นเก็บเกี่ยว :
ระยะการปลูก
ระหว่างแถว (เซนติเมตร) :
ระหว่างต้น (เซนติเมตร) :
ระยะการปลูก
ข้อมูลอื่น :
ปัญหาอุปสรรค์และวิธีการแก้ไข : การใช้ปุ๋ยยูเรีย ปุ๋ยมูลเป็ด มูลไก่ ทำให้ไม่ค่อยลงหัว เนื่องจากขาดแคลนปุ๋ยมูลวัว มูลควาย
พืชที่ปลูกในฤดูที่ผ่านมา : มันเทศ
ผลผลิต (กิโลกรัม/ไร่) : 1,712 กิโลกรัม / ไร่
การใส่ปุ๋ยในฤดูที่ผ่านมา : 80-100 กิโลกรัม / ไร่
ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด : ตามแผน
วันที่ปลูก :
วันที่ออกดอก :
วันที่เก็บเกี่ยว :
ชนิดของดินที่ปลูก
ชนิดของดินที่ปลูก : ดินร่วนปนทราย (Sandy Loam)
การวิเคราะห์ดิน
ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) : ไม่ระบุ
อินทรีวัตถุ (%) : ไม่ระบุ
ฟอสฟอรัส (mg/kg) : ไม่ระบุ
โพแทสเซียม (mg/kg) : ไม่ระบุ
ค่าการนำไฟฟ้า (EC) : ไม่ระบุ
ธาตุรองต่างๆและธาตุเสริม
Ca (mg/kg) : ไม่ระบุ
Fe (mg/kg) : ไม่ระบุ
Mo (mg/kg) : ไม่ระบุ
Mg (mg/kg) : ไม่ระบุ
Zn (mg/kg) : ไม่ระบุ
Mn (mg/kg) : ไม่ระบุ
S (mg/kg) : ไม่ระบุ
B (mg/kg) : ไม่ระบุ
Cu (mg/kg) : ไม่ระบุ