สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่




พืชไร่ มีทั้งสิ้น 7 รายการ


1. ในเขตชลประทาน ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 19.77 ตัน/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K84-200 (14.02 ตัน/ไร่) ร้อยละ 41 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (11.57 ตัน/ไร่) ร้อยละ 71 ซึ่งเฉลี่ยจากผลผลิตน้ำหนักอ้อยปลูก 20.80 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 1 18.31 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 2 20.36 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 2.85 ตันซีซีเอส/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K84-200 (2.05 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 39 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (1.68 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 70 และความหวาน 14.42 ซีซีเอส ขณะที่พันธุ์ K84-200 และอู่ทอง 3 ความหวาน 14.66 และ 14.60 ซีซีเอส ตามลำดับ 2. ในเขตที่มีน้ำเสริม ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 15.28 ตัน/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 (13.79 ตัน/ไร่) ร้อยละ 11 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (12.88 ตัน/ไร่) ร้อยละ 19 ซึ่งเฉลี่ยจากผลผลิตน้ำหนักอ้อยปลูก 18.32 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 1 14.33 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 2 12.15 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 2.12 ตันซีซีเอส/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 (1.81 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 17 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (1.84 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 15 และความหวาน 13.83 ซีซีเอส ขณะที่พันธุ์ K84-200 และอู่ทอง 3 ความหวาน 13.12 และ 14.24 ซีซีเอส ตามลำดับ 3. ต้านทานโรคเหี่ยวเน่าแดงปานกลาง




1. ในเขตชลประทานให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 18.24 ตัน/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 (14.02 ตัน/ไร่) ร้อยละ 30 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (11.57 ตัน/ไร่) ร้อยละ 58 ซึ่งเฉลี่ยจากผลผลิตน้ำหนักอ้อยปลูก 19.76 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 1 17.75 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 2 16.86 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 2.67 ตันซีซีเอส/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 (2.05 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 30 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (1.68 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 59 และความหวาน 14.66 ซีซีเอส ขณะที่พันธุ์ K 84-200 และอู่ทอง 3 ความหวาน 14.66 และ 14.60 ซีซีเอส ตามลำดับ 2. ในเขตที่มีน้ำเสริม ให้ผลผลิตน้ำหนักเฉลี่ย 13.25 ตัน/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 (11.49 ตัน/ไร่) ร้อยละ 15 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (10.14 ตัน/ไร่) ร้อยละ 31 ซึ่งเฉลี่ยจากผลผลิตน้ำหนักอ้อยปลูก 15.34 ตัน/ไร่อ้อยตอ 1 12.16 ตัน/ไร่ อ้อยตอ 2 12.24 ตัน/ไร่ และให้ผลผลิตน้ำตาลเฉลี่ย 1.75 ตันซีซีเอส/ไร่ สูงกว่าพันธุ์ K 84-200 (1.48 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 18 สูงกว่าพันธุ์อู่ทอง 3 (1.41 ตันซีซีเอส/ไร่) ร้อยละ 24 และความหวาน 13.21 ซีซีเอส ขณะที่พันธุ์ K 84-200 และอู่ทอง 3 ความหวาน 12.86 และ 13.59 ซีซีเอส ตามลำดับ 3. ต้านทานโรคเหี่ยวเน่าแดงปานกลาง 4. ต้านทานโรคแส้ดำปานกลาง




1. ทนทานต่อเพลี้ยจักจั่นฝ้าย 2. ต้านทานต่อโรคใบหงิกในสภาพการปลูกเชื้อได้ดี ในระดับเดียวกับพันธุ์ตากฟ้า 2 3. ผลผลิตฝ้ายปุยทั้งเมล็ดเฉลี่ย 260 กิโลกรัมต่อไร่ สูงในระดับเดียวกับพันธุ์ตากฟ้า 2 4. เปอร์เซ็นต์หีบหรือเส้นใยสูงกว่าพันธุ์ตากฟ้า 2 และคุณภาพเส้นใยดีมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นใยมีความยาวถึง 1.23 นิ้ว และมีความเหนียวของกลุ่มเส้นใยกับความละเอียดอ่อนดีในระดับเดียวกับพันธุ์ตากฟ้า 2




1. ให้ผลผลิตฝักแห้ง 315 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงกว่าพันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น 5 ร้อยละ 15 และ 10 ตามลำดับ 2. มีขนาดขนาดเมล็ดโต โดยน้ำหนัก 100 เมล็ดเท่ากับ 54.3 กรัม ซึ่งสูงกว่าพันธุ์ไทนาน 9 และ ขอนแก่น 5 ร้อยละ 24 และ 13 ตามลำดับ




1. ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือกเฉลี่ย 1,731 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่แตกต่างจากพันธุ์บิ๊กไวท์ 852 ที่ให้ผลผลิตฝักสดทั้งเปลือก 1,714 กิโลกรัมต่อไร่ 2. มีคุณภาพความเหนียวนุ่ม 3. ปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อม




1. มีกลิ่นหอมของถั่วเหลืองและกลิ่นเหม็นเขียวน้อยซึ่งเป็นที่ยอมรับของบริษัทผู้ผลิตน้ำนมถั่วเหลืองในระดับอุตสาหกรรม 2. ให้ผลผลิตเฉลี่ย 358 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์เชียงใหม่ 60 ร้อยละ 10 3. เมล็ดพันธุ์มีความงอกดีและมีความงอกสูงกว่าพันธุ์เชียงใหม่ 60 ร้อยละ 9-12 ทำให้เก็บรักษาได้ยาวนานขึ้น 4. ต้านทานต่อโรคใบจุดนูนของถั่วเหลือง




1. มีขนาดเมล็ดโต โดยน้ำหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 49.9 กรัม ซึ่งโตกว่าถั่วลิสงพันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น 5 ที่มีน้ำหนัก 100 เมล็ด เท่ากับ 43.0 และ 47.5 กรัม ตามลำดับ 2. ให้ผลผลิตฝักแห้ง 289 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ่งสูงใกล้เคียงกับถั่วลิสงพันธุ์ไทนาน 9 และขอนแก่น 5 ที่ให้ผลผลิต 288 และ 290 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ 3. ให้ผลผลิตฝักสด 643 กิโลกรัมต่อไร่ ใกล้เคียงกับพันธุ์ขอนแก่น 5 (646 กิโลกรัมต่อไร่) แต่สูงกว่าพันธุ์ไทนาน 9 ร้อยละ 5 และให้ผลผลิตฝักสด 786 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่ากลุ่มพันธุ์ถั่วลิสงฝักสดสำหรับต้มจึงเหมาะสำหรับทำเป็นถั่วต้ม 4. ค่อนข้างทนทานต่อโรคโคนเน่าขาว (เชื้อสาเหตุ Sclerotium rolfsii)