สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่




ยางพารา มีทั้งสิ้น 10 รายการ


ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 276 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี มีการตอบสนองต่อรอยแผลกรีดดี คือ เมื่อกรีดถึงเนื้อไม้เปลือกงอกใหม่จะเสียหายเพียงเล็กน้อย มีความต้านทานต่อโรคราสีชมพู และโรคเปลือกแห้งได้ดี และต้านทานต่อโรคใบที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราปานกลางต้านทานลมได้ดีต้นเปลือกแห้งมีจำนวนน้อย




ผลผลิตเฉลี่ย 294 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ค่อนข้างต้านทานต่อโรคใบจุดคอลเลทโททริกัม โรคราสีชมพูต้านทานลม และตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี




ผลผลิตเฉลี่ย 284 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ค่อนข้างต้านทานต่อโรคเปลือกแห้ง และต้านทานต่อโรคใบจุดคอลเลทโททริกัมปานกลางต้านทานลมได้ดีตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางดี




ต้านทานลมได้ดีมีต้นเปลือกแห้งน้อยต้านทานต่อโรคใบจุดปานกลางตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยาง




ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 259 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี เนื้อไม้งอกใหม่หลังการเปิดกรีดเสียหายปานกลางต้านทานต่อโรคใบจุดคอลเลทโททริกัมและต้านทานต่อโรคใบจุดออยเดียมปานกลาง




ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 324 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางและต้านทานลมได้ปานกลาง




ผลผลิตน้ำยางและเนื้อไม้สูง ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 322 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ผลผลิตเนื้อไม้อายุ 20 ปี 27.24 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี ต้านทานต่อโรคราสีชมพู และโรคใบจุดออยเดียมดีต้านทานต่อโรคใบร่วงไฟทอบโทราปานกลางต้านทานลมได้ดี




ผลผลิตเฉลี่ย 361 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ต้านทานโรคราแปัง และโรคเส้นดำปานกลาง ต้านทานลมได้ดีตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางปานกลาง




ผลผลิตเฉลี่ย 376 กิโลกรัมต่อไร่ ต้านทานโรคใบร่วงไฟทอบโทรา ใบจุด คอลเลทโททรีกัม และราสีชมพูปานกลาง ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางปานกลาง




ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 323 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี ต้านทานโรคใบจุดคอลเลทโททริกัม โรคเส้นดำโรคราสีชมพู และโรคใบร่วงไฟทอบโทราปานกลาง ต้านทานลมได้ดีพอสมควร