สำหรับเจ้าหน้าที่
สำหรับเจ้าหน้าที่




ยางพารา มีทั้งสิ้น 12 รายการ


ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 276 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี มีการตอบสนองต่อรอยแผลกรีดดี คือ เมื่อกรีดถึงเนื้อไม้เปลือกงอกใหม่จะเสียหายเพียงเล็กน้อย มีความต้านทานต่อโรคราสีชมพู และโรคเปลือกแห้งได้ดี และต้านทานต่อโรคใบที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทราปานกลางต้านทานลมได้ดีต้นเปลือกแห้งมีจำนวนน้อย




ผลผลิตเฉลี่ย 294 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ค่อนข้างต้านทานต่อโรคใบจุดคอลเลทโททริกัม โรคราสีชมพูต้านทานลม และตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี




ผลผลิตเฉลี่ย 284 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ค่อนข้างต้านทานต่อโรคเปลือกแห้ง และต้านทานต่อโรคใบจุดคอลเลทโททริกัมปานกลางต้านทานลมได้ดีตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางดี




ต้านทานลมได้ดีมีต้นเปลือกแห้งน้อยต้านทานต่อโรคใบจุดปานกลางตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยาง




ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 259 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี เนื้อไม้งอกใหม่หลังการเปิดกรีดเสียหายปานกลางต้านทานต่อโรคใบจุดคอลเลทโททริกัมและต้านทานต่อโรคใบจุดออยเดียมปานกลาง




ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 324 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางและต้านทานลมได้ปานกลาง




ผลผลิตน้ำยางและเนื้อไม้สูง ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 322 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ผลผลิตเนื้อไม้อายุ 20 ปี 27.24 ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี ต้านทานต่อโรคราสีชมพู และโรคใบจุดออยเดียมดีต้านทานต่อโรคใบร่วงไฟทอบโทราปานกลางต้านทานลมได้ดี




ผลผลิตเฉลี่ย 361 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ต้านทานโรคราแปัง และโรคเส้นดำปานกลาง ต้านทานลมได้ดีตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางปานกลาง




ผลผลิตเฉลี่ย 376 กิโลกรัมต่อไร่ ต้านทานโรคใบร่วงไฟทอบโทรา ใบจุด คอลเลทโททรีกัม และราสีชมพูปานกลาง ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางปานกลาง




ผลผลิตน้ำยางเฉลี่ย 323 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตอบสนองต่อสารเคมีเร่งน้ำยางได้ดี ต้านทานโรคใบจุดคอลเลทโททริกัม โรคเส้นดำโรคราสีชมพู และโรคใบร่วงไฟทอบโทราปานกลาง ต้านทานลมได้ดีพอสมควร




ผลผลิตเนื้อยางแห้ง 313 กิโลกรัมต่อไร่ต่อต้นต่อปี สูงกว่าพันธุ์ RRIM 600 35 เปอร์เซ็นต์และสูงกว่าพันธุ์ GT1 41 เปอร์เซ็นต์ จำนวนท่อน้ำยางมากกว่าพันธุ์ RRIM 600 และ GT1 ผลผลิตเนื้อยางแห้งในช่วงผลัดใบลดลงน้อยกว่าพันธุ์ RRIM 60O เเละ GT1 ต้านทานโรคที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ การเจริญเติบโตดีทั้งในระหว่างก่อนเปิดกรีดและระหว่างเปิดกรีดน้ำยาง เหมาะสำหรับการนำไปใช้ในอุตสาหกรรม




ให้ผลผลิตเนื้อยางแห้งเฉลี่ยสูงมาก ประมาณ 467.2-474.3 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี การเจริญเติบโตก่อนเปิดกรีดดี อายุ 7 ปี มีขนาด 51.6 เซนติเมตร มีจำนวนต้นเปิดกรีดสูง 64 ต้นต่อไร่ ในการกรีดปีแรก เปลือกหนาโดยมีค่าเฉลี่ยความหนาของเปลือกเมื่ออายุ 9 ปี 5.8 มิลลิเมตร และอายุ 20 ปี 9.8 มิลลิเมตร จำนวนวงท่อน้ำยางมาก โดยมีค่าเฉลี่ยจำนวนวงท่อน้ำยางเมื่ออายุ 9 ปี 10.5 วงและ อายุ 20 ปี 39.4 วง ต้านทานต่อโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทรา ออยเดียม และคอลเลทโททริกัมปานกลาง